Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79526
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปฐมาวดี จงรักษ์-
dc.contributor.authorมณฑล เกิดมีทรัพย์en_US
dc.date.accessioned2024-06-19T00:49:18Z-
dc.date.available2024-06-19T00:49:18Z-
dc.date.issued2024-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79526-
dc.description.abstractThe purpose of this research study on the Guidelines for Collaborative Development in the Domestic Production of Military Equipment for Small Military Units is to 1) Fixture out the needs and necessities of military equipment to enhance the efficiency of small military units or special forces 2) Explore the potential and challenges in technology and engineering in the production of military equipment in Thailand and 3) To examine the development plan for collaboration between the government and private sector in the production of military equipment within the country and lead into implementation. This research has been studied through qualitative methodology which involves in-depth interviews using a semi-structured interview format with purposive sampling of 8 individual personnel from three sectors: direct military personnel, industry experts in design and production, and academic experts in specialized fields. The research revealed the following 1) Identification of the types of military equipment needed by small military units and deemed necessary for in-country production. Most of the identified equipment is essential and urgent for tasks or missions related to actual operations, where there is a shortage or insufficiency. Examples include night vision goggles, communication systems, etc. This also affects the equipment used for training in preparation for actual operations. 2) Assessment of the potential and challenges in the technological and engineering aspects of military equipment production in Thailand. Thailand possesses resources or raw materials that can be used in military equipment production through processing or transformation using technology. However, due to cost constraints and lack of government support, production quality tends to be compromised. Another significant challenge is the absence of standardized international equipment standards and 3) Examination of the level and directions of collaboration between the government and private sector in the production of military equipment within the country. The study found that the three main entities involved, namely security agencies, industries, and academic institutions, have a somewhat superficial relationship. Collaboration mostly occurs on specific occasions and is mainly related to public relations or civilian business-related activities. Additionally, limitations in communication and resource sharing exist due to differing goals among organizations and institutions.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวทางการพัฒนาความร่วมมือในการผลิตอุปกรณ์ทางการทหารภายในประเทศสำหรับหน่วยทหารขนาดเล็กen_US
dc.title.alternativeGuidelines for collaborative development in the domestic production of military equipment for small military unitsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashอาวุธทางการทหาร-
thailis.controlvocab.thashยุทโธปกรณ์-
thailis.controlvocab.thashการทหาร-
thailis.controlvocab.thashทหาร-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาความร่วมมือในการผลิตอุปกรณ์ทางทหารภายในประเทศสำหรับหน่วยทหารขนาดเล็ก มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความต้องการและความจำเป็นของอุปกรณ์ทางทหารที่จะเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของหน่วยทหารขนาดเล็กหรือหน่วยรบพิเศษ 2) เพื่อศึกษาศักยภาพและอุปสรรคทางด้านเทคโนโลยีรวมถึงวิศวกรรมศาสตร์ในการผลิตอุปกรณ์ทางทหารของประเทศไทย และ 3) เพื่อศึกษาแบบแผนการพัฒนาความร่วมมือระหว่างรัฐ-เอกชน ในการผลิตอุปกรณ์ทางทหารภายในประเทศและนำไปสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ผ่านการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ( In-Depth Interview ) โดยใช้รูปแบบการสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง ( Semi-Structure Interview ) ผ่านการเลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามวัตถุประสงค์ ( Purposive Sampling ) จำนวน 8 คนจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้ง 3 ส่วน คือ หน่วยทหาร ในฐานะผู้ปฏิบัติงานโดยตรง, ภาคอุตสาหกรรมทั้ง รัฐ - เอกชน ในฐานะผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบและผลิต และ สถาบันวิชาการ ในฐานะผู้เชี่ยวชาญพิเศษในองค์ความรู้เฉพาะสาขา ผลการศึกษาพบว่า 1) ยุทโธปกรณ์ทางทหารประเภทใดที่หน่วยทหารขนาดเล็กมีความต้องการและเห็นว่าควรมีการผลิตภายในประเทศ พบว่า โดยส่วนใหญ่เป็นอุปกรณ์ทางทหารที่มีความจำเป็นและเร่งด่วนเป็นอุปกรณ์สำหรับงานหรือภารกิจที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานจริงที่ยังมีความขาดแคลนหรือไม่เพียงพอ เช่น กล้องตรวจการณ์เวลากลางคืน, ระบบติดต่อสื่อสาร เป็นต้น ซึ่งส่งผลเกี่ยวเนื่องไปกับอุปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกเตรียมกำลังสำหรับการออกปฏิบัติงานจริงเช่นกัน 2) ประเมินศักยภาพและอุปสรรคของทางด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ในการผลิตอุปกรณ์ทางทหารของประเทศไทย พบว่า ประเทศไทยมีทรัพยากรหรือวัตถุดิบที่สามารถนำไปใช้ในการผลิตอุปกรณ์ทางทหารได้ผ่านการแปรรูปหรือแปรสภาพด้วยเทคโนโลยีแต่เนื่องด้วยต้นทุนและการขาดการสนับสนุนจากรัฐ ซึ่งมีหน้าที่อีกนัยหนึ่งคือผู้ควบคุมกฎ กติการในองค์ประกอบทำให้การผลผลิตจึงเป็นคุณภาพที่รองลงมา นอกจากนี้อุปสรรคสำคัญที่ส่งผลอย่างมีนัยยะสำคัญต่อการพัฒนา, วิจัย และผลิต คือ การขาดการกำหนดมาตราฐานของอุปกรณ์ให้มีมาตราฐานในระดับสากล และ3) ระดับและแนวทางการพัฒนาความร่วมมือระหว่างรัฐ - เอกชน ในการผลิตอุปกรณ์ทางทหารภายในประเทศและนำไปสู่การปฏิบัติ พบว่า ในแง่ของความสัมพันธ์ระหว่างองค์การทั้ง 3 ส่วน คือ หน่วยงานด้านความมั่นคง, ภาคอุตสาหกรรม และสถาบันวิชาการ มีความสัมพันธ์กันอย่างผิวเผินหรือกล่าวได้ว่ามีการร่วมมือในบางโอกาสเท่านั้น และเป็นการร่วมงานในลักษณะงานที่เป็นงานด้านประชาสัมพันธ์หรืองานด้านกิจการพลเรือนเป็นหลัก นอกจากนี้ด้วยข้อจำกัดด้านการติดต่อประสานและแบ่งปันทรัพยากรระหว่างกันเนื่องจากแต่ละหน่วยงานและองค์กรมีเป้าหมายที่แตกต่างกันen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641932036-มณฑล เกิดมีทรัพย์.pdf891.79 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.