Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79524
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยพรรณ กลั่นกลิ่น-
dc.contributor.authorธนวัฒน์ จินตนานุชen_US
dc.date.accessioned2024-06-18T16:32:37Z-
dc.date.available2024-06-18T16:32:37Z-
dc.date.issued2567-02-21-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79524-
dc.description.abstractThis study aims to Expectations of Consumers towards Service Marketing Mix of Movie Theaters in Mueng Chiang Mai District in New Normal Era. Data were collected from 400 individuals through online questionnaires. The data were analyzed using descriptive statistics, including frequency, percentage, mean, and inferential statistics, which employed independent t-test to compare differences between two groups of independent variables. The study found that the respondents were male and female, aged between 26 and 30 years old, single, and had the highest bachelor's degree. As a company employee, the average monthly income is 20001-30000 Thai baht. Most people use cinema services on weekends. Start using the cinema at 6 pm. Go to the cinema with friends. Watch one movie on average each time. 201-500 THB. Buy movie tickets at the counter. Learn about the source or promotion of movies on the Internet. The overall confidence in the use of cinemas after the outbreak of COVID-19 is the same, and there are reasons for using cinemas. There are many seats to choose from. In the context of the new normal era in Mueang Chiang Mai District, the study focused on consumer expectations related to the service marketing mix for movie theater services. The findings indicated that overall expectations were at a high level, with the following order of importance: Place People Process Product Physical Evidence Promotion and Price. Management guidelines for movie theaters in response to the measures introduced by the government during the new normal era, three key measures were identified, all of which received high levels of support: The utilization of technology to facilitate transactions, such as QR Code, card sales, and electronic payments (e-Payment). Implementing a limit of one person per 1.5 square meters of space per round or time period. Mandating that all service users wear cloth face masks or masks and cleanse their hands with soap or disinfectant products before entering the movie theater.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความคาดหวังของผู้บริโภคต่อส่วนประสมการตลาดบริการ ของโรงภาพยนตร์ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ในยุคความปรกติใหม่en_US
dc.title.alternativeExpectations of consumers towards service marketing mix of movie theaters in Mueang Chiang Mai District in new normal eraen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashโรงภาพยนตร์ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashความคาดหวัง (จิตวิทยา)-
thailis.controlvocab.thashผู้บริโภค -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashนิวนอร์มัล-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคาดหวังของผู้บริโภคต่อส่วนประสมการตลาดบริการของโรงภาพยนตร์ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ ในยุคความปรกติใหม่ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามออนไลน์ จำนวน 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และสถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) โดยใช้สถิติ Independent t-test เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างตัวแปรอิสระ 2 กลุ่ม ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศชาย และเพศหญิงใกล้เคียงกัน อายุระหว่าง 26-30 ปี สถานภาพโสด มีระดับการศึกษาสูงสุดในระดับปริญญาตรี เป็นพนักงานบริษัท รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001-30,000 บาท ส่วนใหญ่ใช้บริการโรงภาพยนตร์บ่อยที่สุด คือ วันหยุดสุดสัปดาห์ (เสาร์-อาทิตย์) ใช้บริการโรงภาพยนตร์ ช่วงกลางคืน เวลา 18.00 น. เป็นต้นไป ไปโรงภาพยนตร์กับเพื่อน ใช้จ่ายเมื่อเข้าชมภาพยนตร์เรื่องหนึ่งเฉลี่ยต่อครั้ง 201-500 บาท ซื้อตั๋วชมภาพยนตร์หน้าเคาน์เตอร์มากที่สุด ทราบแหล่งข้อมูลหรือโปรโมชั่นของภาพยนตร์จากอินเทอร์เน็ต มีความเชื่อมั่นในภาพรวมต่อการใช้บริการโรงภาพยนตร์หลังเกิดระบาดไวรัสโควิดไนน์ทีนส่วนใหญ่เท่าเดิม มีเหตุผลการใช้บริการโรงภาพยนตร์ คือ มีที่นั่งให้เลือกหลายรูปแบบ ความคาดหวังเกี่ยวกับส่วนประสมการตลาดบริการต่อการเลือกใช้บริการโรงภาพยนตร์ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ ในยุคความปรกติใหม่ พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับมากทั้งหมด เรียงได้ตามลำดับค่าเฉลี่ย ดังนี้ ด้านการจัดจำหน่าย รองลงมาคือ ด้านบุคลากร ด้านกระบวนการ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านลักษณะทางกายภาพ ด้านการส่งเสริมทางการตลาด และด้านราคา และแนวทางการจัดการสถานบริการโรงภาพยนตร์ ตามมาตรการที่รัฐบาลประกาศในยุคความปรกติใหม่ พบว่ามี 3 มาตรการที่มี ความคิดเห็นในระดับเห็นด้วยมาก คือ มีการใช้เทคโนโลยีมาสนับสนุนการทำงาน เช่น QR Code การจำหน่ายบัตรและชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) เป็นต้น รองลงมาคือ จำกัดผู้เข้าใช้บริการ 1 คน ต่อพื้นที่ 1.5 ตารางเมตรต่อรอบ/ช่วงเวลา และกำหนดให้ผู้ใช้บริการทุกคนสวมหน้าการผ้าหรือหน้ากากอนามัย และล้างมือด้วยสบู่หรือผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อ ก่อนเข้ามาใช้บริการโรงภาพยนตร์ ตามลำดับen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621532004-ธนวัฒน์ จินตนานุช.pdf2.16 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.