Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79506
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิมพ์ชนก เครือสุคนธ์ | - |
dc.contributor.author | ณัฏศรินทร์ สว่างอนันกุล | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-06-17T16:53:04Z | - |
dc.date.available | 2024-06-17T16:53:04Z | - |
dc.date.issued | 2567-01-16 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79506 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this study were (1) to examine the relationship between leader support, employee well-being, and knowledge sharing behavior among middle-level managers in all Area Excise Branch Offices, and (2) to investigate the mediating role of employee well-being in the relationship between leader support and knowledge sharing behavior of supervisors. This research employed a correlational research design. The participants were 215 middle-level managers working in supervisory roles in all Area Excise Branch Offices. The research utilized three main instruments: a knowledge sharing behavior scale, a perceived supervisor support scales, and a job-related affective well-being scale. Data analysis involved Pearson correlation analysis, multiple regression analysis, and mediation analysis using the Process macro Model 4. Bootstrap analysis was conducted by defining the number of random samples to 1,000 tests. The findings of the study revealed: 1. Leader support had a significant positive correlation with knowledge sharing behavior at the .01 (r = .439). 2. Leader support had a significant positive correlated with employee well-being at the .01 (r = .395). 3. Employee well-being had a positive correlation with knowledge sharing behavior at the .01 (r = .425). 4. Employee well-being partially mediated the relationship between leader support and knowledge sharing behavior among supervisors, with statistically significant at .01 and indirect effect = .102 | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | Knowledge sharing behaviors | en_US |
dc.subject | Leader support | en_US |
dc.subject | Employee well-being | en_US |
dc.title | บทบาทการเป็นตัวแปรสื่อของความผาสุกของพนักงานในความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนของผู้นำและพฤติกรรมการแบ่งปันความรู้ของหัวหน้างานสังกัดสำนักงานสรรพสามิตพื้นที่สาขา | en_US |
dc.title.alternative | Mediating role of employee well-being in the relationship between leader support and knowledge sharing behaviors among supervisors of all area excise branch offices | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | กรมสรรพสามิต | - |
thailis.controlvocab.thash | การบริหารองค์ความรู้ | - |
thailis.controlvocab.thash | การทำงาน | - |
thailis.controlvocab.thash | ผู้นำ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ (1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง การสนับสนุนของผู้นำ ความผาสุกของพนักงาน และพฤติกรรมการแบ่งปันความรู้ของพนักงานระดับหัวหน้างาน ในสังกัดสำนักงานสรรพสามิตพื้นที่สาขา และ (2) เพื่อศึกษาบทบาทการเป็นตัวแปรสื่อของความผาสุกของพนักงาน ในความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนของผู้นำ และพฤติกรรมการแบ่งปันความรู้ของหัวหน้างาน รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ พนักงานระดับหัวหน้างาน สังกัดสำนักงานสรรพสามิตพื้นที่สาขา กรมสรรพสามิต จำนวน 215 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย แบบวัดการแบ่งปันความรู้ แบบวัดการสนับสนุนของผู้นำ และแบบวัดความผาสุกของพนักงาน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple regression analysis) และวิธีการบูตสแตรป (Bootstrap method) ซึ่งกำหนดจำนวนการสุ่มตัวอย่างซ้ำทั้งสิ้น 1,000 ครั้ง โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป Process macro ของ Hayes (2013) แบบจำลองที่ 4 (Model 4) ผลการวิจัยพบว่า 1. การสนับสนุนของผู้นำมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการแบ่งปันความรู้ของหัวหน้างานสังกัดสำนักงานสรรพสามิตพื้นที่สาขา ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันเท่ากับ .439 2. การสนับสนุนของผู้นำมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผาสุกของพนักงานได้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันเท่ากับ .395 3. ความผาสุกของพนักงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการแบ่งปันความรู้ของหัวหน้างานสังกัดสำนักงานสรรพสามิตพื้นที่สาขาได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันเท่ากับ .425 4. ความผาสุกของพนักงานเป็นตัวแปรสื่อแบบบางส่วนในความสัมพันธ์ระหว่าง การสนับสนุนของผู้นำและพฤติกรรมการแบ่งปันความรู้ของหัวหน้างานสังกัดสำนักงานสรรพสามิตพื้นที่สาขา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และมีอิทธิพลทางอ้อมเท่ากับ .102 | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
640132028-ณัฏศรินทร์ สว่างอนันกุล.pdf | 1.49 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.