Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79505
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPrasit Leepreecha-
dc.contributor.advisorChusak Wittayapak-
dc.contributor.advisorNongyao Nawarat-
dc.contributor.authorSongkran Jantakaden_US
dc.date.accessioned2024-06-17T16:48:55Z-
dc.date.available2024-06-17T16:48:55Z-
dc.date.issued2023-12-27-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79505-
dc.description.abstractThis thesis aims to conceptualize the topic of “commoditization and ethnicity” through the phenomena of commoditizing ethnic culture within the Cultural Square, a space for displaying ethnic diversity in the Chiang Rai Flower Festival. Regarding Erik Cohen’s suggestions, the thesis argues that an ethnic commodity can be conceived as a negotiable thing at the frontier of ethnic boundaries among the relevant actors. Consequently, the phenomena within the Cultural Square lead to a so-called politics of commoditizing ethnic culture, which thus provides an alternative lens for studies on ethnicity. Furthermore, considering this politics of commoditization also illuminates critical debates on multiculturalism in Thai society. Chiang Rai is one of the most multi-ethnic cities in Thailand for geographical and historical reasons. Since the 2000s, under the slogan “city of art and diversity”, Chiang Rai has been situated as a prominent touristic destination responding to the state’s campaign of “quality tourists”. The Chiang Rai Flower Festival and its Cultural Square, initiated in 2005, are consequences of this tourism campaign. The Cultural Square supposedly presents Chiang Rai’s ethno-cultural diversity: it presents vivid cultural diversity as colorful flowers. Understanding this presentation requires contextualizing the historical dynamics of Chiang Rai’s ethno-cultural diversity as it has developed from the hills to the city, i.e., from isolated ethnic communities to ethnic commoditization. Although some previous studies have enhanced discussions of ethnic commoditization beyond economic dimensions, i.e., seeing a commodity as a negotiable thing among relevant actors, this thesis endeavors to fill such studies’ gaps. The previous studies pay less attention to ethnic perspectives, especially to the power relations among ethnic groups, who indeed are heterogeneous in the process of ethnic commoditization. Chiefly employing Cohen’s suggestion of viewing an ethnic commodity as a negotiable thing at the frontier of ethnic boundaries among the relevant actors, the thesis seeks to comprehend the influences of tourism in relation to the political dynamics of ethnic boundaries, which relates to social changes among Chiang Rai’s ethnic groups. Rather than emphasizing the subfield of ethnic tourism, this thesis works with the theme of “commoditization and ethnicity” as its focal point. This conceptualization underpins the research arenas: Chiang Rai’s ethno-cultural diversity; the phenomena of commoditizing ethnic culture within the Cultural Square; and power relations among the relevant actors of the Cultural Square (i.e., the ethnic groups and the local governments). The data and information are mainly acquired through an ethnographically oriented approach. Finally, this thesis offers three findings: 1) it analyzes the dynamics of commoditizing ethnic culture in Chiang Rai, which have developed into what this study terms a “post-Boonchouy era”; 2) it regards the Cultural Square as a space for expressing various concerns among the relevant actors, due to its significance in negotiating the ethnic commodity; and 3) it reveals the politics of commoditizing ethnic culture within the Cultural Square – i.e., the origins and development of ethnic commoditization in relation to sociopolitical contexts and power relations among inter-ethnic groups – that have changed Chiang Rai’s ethnic relations at large. In addition, the thesis’s analysis leads to two critical theoretical contributions. First, multiculturalism; the various concerns negotiated among the relevant actors within the space of commoditization (e.g., the Cultural Square) can be discussed in terms of multicultural issues, i.e., the case of Thai society is one that is shifting from state multiculturalism to multiculturalism from below. Second, commoditization, ethnic authenticity, and ethnic boundary; the power relations between ethnic people and the dynamics of ethnic diversity and ethnic commoditization through the tourist sphere (e.g., the Cultural Square), which lead to the politics of authenticity and the process of ethnicization – can provide new perspectives for studies on ethnicity.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectmulticulturalismen_US
dc.subjectethnicityen_US
dc.subjectcommoditizationen_US
dc.subjectChiang Rai Flower Festivalen_US
dc.titlePolitics of commoditizing ethnic culture in Chiang Rai Flower Festivalen_US
dc.title.alternativeการเมืองของการทำวัฒนธรรมชาติพันธุ์เป็นสินค้าในงานมหกรรมไม้ดอกเชียงรายen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshEthnology -- Chiang Rai-
thailis.controlvocab.lcshFlower festivals -- Chiang Rai-
thailis.controlvocab.lcshPolitics and culture -- Chiang Rai-
thailis.controlvocab.lcshChiang Rai -- Manners and customs-
thailis.controlvocab.lcshChiang Rai -- Description and travel-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractดุษฎีนิพนธ์เล่มนี้มุ่งหมายศึกษาประเด็นว่าด้วย ‘ชาติพันธุ์สัมพันธ์กับการทำให้เป็นสินค้า’ ผ่านพื้นที่วิจัยที่เรียกว่า ข่วงวัฒนธรรม ในงานมหกรรมไม้ดอกเชียงราย พื้นที่อันมีการจัดแสดงความหลากหลายทางชาติพันธุ์ของเชียงราย การศึกษานี้ได้เสนอข้อโต้แย้งว่า การทำวัฒนธรรมชาติพันธุ์ให้เป็นสินค้าไม่จำเป็นต้องนำไปสู่การกลายเป็นวัตถุทางการท่องเที่ยว หากแต่สามารถเห็นถึงการต่อรองทางสังคม การเมืองและวัฒนธรรม ระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์และผู้ที่เกี่ยวข้องได้ ข้อเสนอนี้ทำให้กิจกรรมในพื้นที่ข่วงวัฒนธรรมกลายเป็นพื้นที่การเมืองของการทำวัฒนธรรมชาติพันธุ์เป็นสินค้า อันนำไปสู่การเพิ่มมุมมองใหม่ในการศึกษาชาติพันธุ์สัมพันธ์และพหุวัฒนธรรมนิยมในสังคมไทย เชียงรายเป็นหนึ่งในเมืองที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์มากที่สุดในประเทศไทย ในช่วงทศวรรษ 2540 สโลแกน ‘เชียงรายเมืองศิลปะและความหลากหลาย’ เกิดขึ้นตอบสนองนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยวระดับชาติ ซึ่งงานมหกรรมไม้ดอกเชียงรายและกิจกรรมในข่วงวัฒนธรรมก็เกิดขึ้นภายใต้แรงขับเคลื่อนนี้เช่นกัน โดยเฉพาะข่วงวัฒนธรรมได้ทำหน้าที่แสดงความหลากลายทางชาติพันธุ์อันงดงามราวกับดอกไม้เมืองหนาวหลากสีที่แสดงภายในงานเทศกาล กล่าวได้ว่า ปรากฏการณ์นี้เป็นผลพวงมาจากพลวัตทางประวัติศาสตร์ของความหลากลายทางชาติพันธุ์ในเชียงราย ที่พัฒนามาจากขุนเขาสู่เมือง จากชุมชนชาติพันธุ์ที่อยู่โดดเดี่ยว สู่การเป็นส่วนหนึ่งของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของเชียงราย แม้การศึกษาที่ผ่านมาจะเสนอแล้วว่า การทำวัฒนธรรมชาติพันธุ์เป็นสินค้ามิได้มีมิติทางเศรษฐกิจอย่างเดียว หากแต่เป็นเรื่องการต่อรองระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้อง อย่างไรก็ตาม การศึกษานี้ยังพบช่องว่างของงานศึกษาที่ผ่านมาที่ยังมองกลุ่มชาติพันธุ์เป็นเนื้อเดียวกัน และมุ่งมองแต่ว่าพวกเขาถูกกดขี่เอาเปรียบอย่างไร งานวิจัยนี้จึงเน้นไปที่ความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างกลุ่มชาติพันธ์อย่างเชื่อมโยงกับพลวัตของชาติพันธุ์สัมพันธ์ในเชียงรายภายใต้บริบทของการท่องเที่ยว การศึกษานี้จึงครอบคลุมประเด็น ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในเชียงราย ปรากฏการณ์การทำวัฒนธรรมชาติพันธุ์ให้เป็นเป็นสินค้าในพื้นที่ข่วงวัฒนธรรม และความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ผู้จัดงานในข่วงวัฒนธรรม และรวมถึงกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นผู้จัดงานในข่วงวัฒนธรรม โดยการเก็บข้อมูลประเด็นดังกล่าว การศึกษานี้ได้ใช้วิธีวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนาในการเก็บข้อมูล ข้อค้นพบของการศึกษานี้มี 3 ประการ คือ 1) พลวัตของกระบวนการทำวัฒนธรรมให้เป็นสินค้าในกรณีเชียงราย ที่สุดแล้วจะนำไปสู่ยุคที่เรียกว่ายุค ‘หลังบุญช่วย’ (หนังสือ 30 ชาติในเชียงราย ของ บุญช่วย ศรีสวัสดิ์ ได้ตรึงภาพลักษณ์ชาติพันธุ์ในเชียงรายมากว่าครึ่งศตวรรษ) 2) พื้นที่ข่วงวัฒนธรรมเป็นพื้นที่ที่ผู้ที่เกี่ยวข้อง (โดยเฉพาะกลุ่มชาติพันธุ์ผู้จัดงาน) สามารถเสนอและเรียกร้องประเด็นทางสังคม การเมือง และวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงกับปัญหาและความต้องการของชุมชนตนเองได้อย่างมีนัยยะสำคัญ 3) การเมืองเรื่องการทำวัฒนธรรมให้เป็นสินค้าในพื้นที่ข่วงวัฒนธรรมที่มีกลุ่มชาติพันธุ์ผู้จัดงานเป็นตัวแสดงหลัก ได้สะท้อนถึงมุมมองใหม่ในการศึกษาชาติพันธุ์สัมพันธ์ในเชียงรายอย่างสำคัญเช่นกัน นอกจากนี้ บทวิเคราะห์จากการศึกษาครั้งนี้ ได้นำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ใหม่ (theoretical contribution) ต่อแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2 แนวคิด ประการแรก คือ ‘แนวคิดพหุวัฒนธรรมนิยม’ ความต้องการที่หลากลหากหลาย (ทางสังคม การเมือง วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ) ของกลุ่มชาติพันธุ์ผู้จัดงานที่ปรากฏในข่วงวัฒนธรรม สามารถสะท้อนถึงภาพพุวัฒนธรรมในสังคมไทย ที่เปลี่ยนผ่านจาก พหุวัฒนธรรมนิยมโดยรัฐ (state multiculturalism) ไปสู่พหุวัฒนธรรมนิยมจากรากหญ้า (multiculturalism from below) ประการต่อมา แนวคิดว่าด้วย ‘ชาติพันธุ์สัมพันธ์’ กิจกรรมในข่วงวัฒนธรรมและความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์อันเชื่อมโยงกับพลวัตทางประวัติศาสตร์ของความหลายหลายทางชาติพันธุ์และการกลายเป็นสินค้าของวัฒนธรรมชาติพันธุ์ในเชียงราย ได้นำไปสู่ประเด็น การเมืองเรื่องความจริงแท้ของวัฒนธรรม (authenticity) และกระบวนการสร้างตัวตนหรือความเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ (ethnicization) นั้น ทำให้สามารถมองความเป็นชาติพันธุ์สัมพันธ์อย่างซับซ้อนและลึกซึ้งมากขึ้นen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610455904-SONGKRAN JANTAKAD.pdf11.04 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.