Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79503
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนทัต อัศภาภรณ์-
dc.contributor.advisorสมเกียรติ อินทสิงห์-
dc.contributor.authorปรินีย์ สุริวงค์en_US
dc.date.accessioned2024-06-17T16:39:32Z-
dc.date.available2024-06-17T16:39:32Z-
dc.date.issued2566-12-24-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79503-
dc.description.abstractThe objectives of this study were to compare the performance skills of grade 11 students after learning with the criteria of 70 percent by using psychomotor domain instruction process based on Davies’s theory and to compare the teamwork collaboration competency of grade 11 students during their studies compared with the criteria of 70 percent by using the teaching process emphasizing range skills according to psychomotor domain instruction process based on Davies’s theory. The population used in this study was 20 students studying home economics study plans grade 11 students, Wawewittayakhom school, semester 2 years 2022. The tools used in the study consisted of learning management plans that focus on psychomotor domain instruction process based on Davies’s theory, home economics performance skills assessment form, and teamwork collaboration competency assessment form. Data were analyzed by means, percentages and standard deviation. The study found that, 1) After studying used psychomotor domain instruction process based on Davies’s theory, home economics operational skills were at excellent level, representing 92.22 percent higher than the 70 percent criterion set. 2) During the course used psychomotor domain instruction process based on Davies’s theory, the students had teamwork collaboration competency at the ability level, representing 75.75 percent, higher than the 70 percent criterion predetermined.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการใช้กระบวนการสอนที่เน้นทักษะพิสัยตามทฤษฎีของเดวีส์เพื่อส่งเสริมทักษะการปฏิบัติงานทางคหกรรมศาสตร์และสมรรถนะการรวมพลังทำงานเป็นทีมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5en_US
dc.title.alternativeUsing psychomotor domain instruction process based on Davies’s theory to encourage home economics operational skills and teamwork collaboration competency of grade 11 studentsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนวาวีวิทยาคม-
thailis.controlvocab.thashคหกรรมศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน-
thailis.controlvocab.thashการทำงานเป็นทีม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการปฏิบัติงานทางคหกรรมศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนโดยใช้กระบวนการสอนที่เน้นทักษะพิสัยตามทฤษฎีของเดวีส์เทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 และ 2) เพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะการรวมพลังทำงานเป็นทีมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างเรียนโดยใช้กระบวนการสอนที่เน้นทักษะพิสัยตามทฤษฎีของเดวีส์เทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ นักเรียนที่เรียนแผนการเรียนคหกรรมศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวาวีวิทยาคม อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะพิสัยตามทฤษฎีของเดวีส์ จำนวน 7 แผน 2) แบบประเมินทักษะการปฏิบัติงานทางคหกรรมศาสตร์ และ 3) แบบประเมินสมรรถนะการรวมพลังทำงานเป็นทีม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การหาค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1) หลังเรียนโดยใช้กระบวนการสอนที่เน้นทักษะพิสัยตามทฤษฎีของเดวีส์ นักเรียนมีทักษะการปฏิบัติงานทางคหกรรมศาสตร์อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 92.22 สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 ที่กำหนดไว้ 2) ระหว่างเรียนโดยใช้กระบวนการสอนที่เน้นทักษะพิสัยตามทฤษฎีของเดวีส์ นักเรียนมีสมรรถนะการรวมพลังทำงานเป็นทีม โดยภาพรวมอยู่ในระดับสามารถ คิดเป็นร้อยละ 75.75 สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 ที่กำหนดไว้en_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
๖๔๐๒๓๒๐๒๙ ปรินีย์ สุริวงศ์.pdf23.56 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.