Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79502
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Nathithakarn Phayakkha | - |
dc.contributor.advisor | Suraphol Sreshthaputra | - |
dc.contributor.advisor | Busara Limnirundkul | - |
dc.contributor.author | Kitisak Thongmeethip | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-06-17T10:12:19Z | - |
dc.date.available | 2024-06-17T10:12:19Z | - |
dc.date.issued | 2024-02-12 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79502 | - |
dc.description.abstract | The purpose of conducting this research is to study the context, risks, and characteristics of goat farming in the upper northern region. and to study the results of goat raising management by farmers in the upper northern region. and to analyze the potential of farmers in goat raising in the upper northern region. and to propose guidelines for managing problems and promoting good goat raising in the upper northern region. By choosing a method to collect data from research combined with representative systems. (Information-Rich Cases) is mainly document research. Along with in-depth interviews and observations, data were collected from goat farming operations of farmers in the upper northern region. Divided into interviews with 155 people and focus groups with 12 people using principles through descriptive analysis. From qualitative data analysis and descriptive analysis including frequency values, percentage values, maximum values, minimum values and standard deviations. From studying the context and basic information of goat farmers in the upper northern region, it was found that the general context of goat raising in the upper northern region and basic information of goat farmers in the upper northern region found that farmers Goat farmers in the upper northern region There is a simple living environment. The area used for raising goats is their own, along with managing the capital with their own property. Going through the process of promoting goat raising from government agencies. That makes it known that most farmers raise goats as a supplementary occupation along with other occupations, but all farmers are ready to develop their goat raising occupation into a main occupation that can support themselves in the future. According to the information shown above Moreover, “people” or farmers who raise goats Therefore, it is a mechanism that is considered an important key to the aforementioned operations. It was born from an idea from experience in actual practice. Combined with coordination from various agencies, this results in goat management that is very efficient and liquid. Along with preparing yourself at all times under the ongoing risks. For the study of the characteristics of the model and the risks of raising goats in the upper northern region. It was found that goat farmers in the upper northern region There is a style and style of raising goats that is in accordance with the promotion from the government and beliefs from the original region. There are many approaches to raising goats and are diverse according to different purposes and farming conditions. Farmers plan to focus on health care, food management. and a suitable farming system for the environment in which it is grown This is to get good and high-quality production respectively. There are many approaches to raising goats and are diverse according to different purposes and farming conditions. Farmers should pay attention to health care, food management, and appropriate farming systems for the environment in which they are raised. This is to get good and high-quality produce. As for the issue of risks that have been surveyed in the area The researcher found that risks related to human capital development of farmers This will require a process of participation and coordination from all sectors. That is the driving mechanism, that is, the stronger the driving mechanism and the more readiness it is to expand or move forward with development. This will only result in the process of managing goat raising being further removed from risk factors and farmers will have better goat raising management than ever before. Only get closer to the goal of success. The Results of the study of the results of goat raising management in the upper northern region found that the results of goat raising in the upper northern region were in 5 areas: society and living conditions, economics, and agricultural potential. and basic utilities and the environment There has not been much change over the past 3 years, especially in the area of farmers' potential. It was found that there has been minimal change or almost no change at all. As for society and living conditions It was found that this was the single outcome that caused the most change. But it still remains at the same level. This factor may be due to the farmer's newness in managing his own goat raising. As for the potential of goat farmers in the upper northern region, it was found that the main basic potential of farmers is in four areas: marketing and trade, farmer network partners, bringing in various technologies, and good goat breeds Finally, guidelines for managing problems and promoting good goat raising in the upper northern region found that the problem of knowledge development should be solved. and social aspects and relationships with farmers It should be promoted through a participatory process in selecting species and promoting good planning and management systems. | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Guidelines for goat raising management of farmers under risk in the Upper Northern region | en_US |
dc.title.alternative | แนวทางการจัดการเลี้ยงแพะของเกษตรกรภายใต้ความเสี่ยงในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน | en_US |
dc.type | Thesis | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Goats -- Thailand, Northern | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Goat farming | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Farmers -- Thailand, Northern | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การดำเนินงานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาบริบท ความเสี่ยง และรูปแบบลักษณะของการเลี้ยงแพะในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน และเพื่อศึกษาผลลัพธ์ในการจัดการเลี้ยงแพะของเกษตรกรในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน และเพื่อวิเคราะห์ศักยภาพของเกษตรกรในการจัดการเลี้ยงแพะในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน และเพื่อเสนอแนวทางการจัดการปัญหาและการส่งเสริมการเลี้ยงแพะที่ดีในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน โดยเลือกใช้วิธีการในการเก็บข้อมูลจากการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กับระบบตัวแทน (Information-Rich Cases) เป็นหลัก การวิจัยเอกสาร ประกอบกับการสัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกต การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการดำเนินการจัดการเลี้ยงแพะของเกษตรกรในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน แบ่งเป็นการใช้แบบสัมภาษณ์ จำนวน 155 ราย และการสนทนากลุ่ม จำนวน 12 ราย โดยใช้หลักการผ่านการวิเคราะห์เชิงพรรณนา (Descriptive Analytics) จากการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพและกรวิเคราะห์สิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าสูงสุด (Maximum) ค่าต่ำสุด (Minimum) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) จากการศึกษาบริบทและข้อมูลพื้นฐานของเกษตรกรผู้เลี้ยงแพะในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน พบว่า บริบททั่วไปของการเลี้ยงแพะในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนและข้อมูลพื้นฐานของเกษตรกรผู้เลี้ยงแพะในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนนั้น พบว่า เกษตรกรผู้เลี้ยงแพะในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน มีบริบทการดำรงชีพที่เรียบง่ายพื้นที่ที่ใช้ในการจัดเลี้ยงแพะส่วนก็จะเป็นของตนเองพร้อมด้วยงานบริหารจัดการทุนด้วยทรัพย์สินของตนเอง ผ่านกระบวนการส่งเสริมการเลี้ยงแพะจากหน่วยงานภาครัฐ นั้นจึงทำให้ทราบว่าเกษตรกรส่วนใหญ่มีการเลี้ยงแพะเป็นอาชีพเสริมร่วมการประกอบอาชีพอื่น ๆ แต่เกษตรกรล้วนพร้อมที่จะพัฒนาอาชีพการเลี้ยงแพะของเขาให้เป็นอาชีพหลักที่สามารถเลี้ยงตนเองได้ในอนาคต ตามข้อมูลที่แสดงไปในข้างต้น ยิ่งไปกว่านั้น “คน” หรือเกษตรกรผู้เลี้ยงแพะ จึงเป็นกลไกที่ถือว่าเป็นกุญแจดอกสำคัญของการดำเนินการดังที่กล่าวมา อันกำเนิดมาจากแนวคิดจากการได้สัมผัสจากการปฏิบัติจริง ประกอบกับการประสานงานจากหน่วยงานต่าง ๆ อันส่งผลให้เกิดเป็นการจัดการแพะที่มีประสิทธิภาพดีงามและมีสภาพคล่องตัว พร้อมด้วยการเตรียมตนเองอยู่ตลอดเวลาภายใต้ความเสี่ยงที่กำลังดำเนินไปอย่างเท่าทัน สำหรับผลการศึกษาลักษณะรูปแบบ และความเสี่ยงการเลี้ยงแพะในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน พบว่า เกษตรกรผู้เลี้ยงแพะในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนนั้น มีลักษณะและรูปแบบของการเลี้ยงแพะที่เป็นไปตามการได้รับการส่งเสริมจากภาครัฐและความเชื่อจากภูมิเดิม การเลี้ยงแพะมีหลายแนวทางและมีความหลากหลายตามวัตถุประสงค์และเงื่อนไขการเลี้ยงที่แตกต่างกัน เกษตรกรผู้เลี้ยงมีการวางแผนให้ความสนใจในด้านการดูแลสุขภาพ, การจัดการอาหาร และระบบการเลี้ยงที่เหมาะสมสำหรับสภาพแวดล้อมที่ทำการเลี้ยง ทั้งนี้เพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดีและคุณภาพสูงตามลำดับ การเลี้ยงแพะมีหลายแนวทางและมีความหลากหลายตามวัตถุประสงค์และเงื่อนไขการเลี้ยงที่แตกต่างกัน ผู้เลี้ยงควรให้ความสนใจในด้านการดูแลสุขภาพ, การจัดการอาหาร, และระบบการเลี้ยงที่เหมาะสมสำหรับสภาพแวดล้อมที่ทำการเลี้ยง ทั้งนี้เพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดีและคุณภาพสูง ส่วนในประเด็นความเสี่ยงที่ได้ลงพื้นที่สำรวจ ผู้วิจัยพบว่าความด้านความเสี่ยงด้านการพัฒนาทุนมนุษย์ของเกษตรกร ซึ่งจะต้องอาศัยกระบวนการมีส่วนและการประสานจากทุกภาคส่วน ที่เป็นกลไกในการขับเคลื่อน กล่าวคือ ยิ่งกลไกในการดำเนินมีความแข็งแรงและความพร้อมในการต่อยอดหรือเดินหน้าเพื่อพัฒนามากเท่าไหร่ ก็จะส่งผลให้กระบวนการในการจัดการเลี้ยงแพะห่างออกจากปัจจัยเสี่ยงมากขึ้นเท่านั้นและเกษตรกกรก็จะมีการจัดการเลี้ยงแพะที่ดีขึ้นกว่าที่เคยเป็นมา เข้าใกล้เป้าหมายของความสำเร็จมากเท่านั้น ผลการศึกษาของผลลัพธ์ของการจัดการเลี้ยงแพะในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน พบว่า ผลลัพธ์ที่เกิดจากการเลี้ยงแพะในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนใน 5 ด้าน ได้แก่ ด้านสังคมและความเป็นอยู่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านศักยภาพการเกษตร และด้านสาธารณูปโภคพื้นฐานและสิ่งแวดล้อม มิได้มีการเปลี่ยนไปมากนักตลอดระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะในด้านศักยภาพของเกษตรกร พบว่า มีการเปลี่ยนแปลงน้อยที่สุดหรือเกือบจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงเลย ส่วนในด้านสังคมและความเป็นอยู่ พบว่าเป็นผลลัพธ์ด้านเดียวที่เกิดการเปลี่ยนแปลงมากที่สุด แต่ก็ยังคงอยู่ระดับคงเดิม ซึ่งเหตุปัจจัยอาจที่เกิดจากความใหม่ของเกษตรกรที่มีต่อการจัดการเลี้ยงแพะของเกษตรกรเอง ในส่วนของศักยภาพของเกษตรกรผู้เลี้ยงแพะในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน พบว่า ศักยภาพพื้นฐานหลักของเกษตรกร มี อยู่ 4 ด้านด้วยกัน นั้นคือการตลาดและการค้า, ภาคีเครือข่ายของเกษตรกร, การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี และสายพันธุ์ที่ดี สุดท้ายแนวทางการจัดการปัญหาและการส่งเสริมการเลี้ยงแพะที่ดีในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน พบว่า ควรแก้ไขปัญหาด้านการพัฒนาการองค์ความรู้ และด้านสังคมกับความสัมพันธ์ของเกษตรกร ควรมีการส่งเสริมผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมด้านการคัดเลือกสายพันธุ์และการส่งเสริมการวางแผนการเลี้ยงและระบบการจัดการที่ดี | en_US |
Appears in Collections: | AGRI: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630851012 กิติศักดิ์ ทองมีทิพย์.pdf | 4.82 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.