Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79492
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นทัต อัศภาภรณ์ | - |
dc.contributor.advisor | สมเกียรติ อินทสิงห์ | - |
dc.contributor.author | กาญจนา กิติยศ | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-06-12T09:27:06Z | - |
dc.date.available | 2024-06-12T09:27:06Z | - |
dc.date.issued | 2566-12-24 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79492 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research were to compare problem-solving skill and teamwork skill of early childhood before and after manage STEAM education activities. The sample in this research was 1 classroom of K2 semester in academic year 2022 of Mae Kue Subdistrict Municipality Kindergarten, total 18 students. They were chosen by cluster random sampling. The research instruments were activity plans based on the STEAM education to promote problem-solving thinking skill and teamwork skill for early childhood children, assessment of problem-solving thinking skill, and observation form for teamwork skill. Data were analyzed by means, standard deviations and Wilcoxon signed rank test. The results of this research were as follow: 1. Problem-solving thinking skill of early childhood children after used activities based on STEAM education was higher than before used, with statistical significance at the .01 level. 2. Teamwork skill of early childhood children after used activities based on STEAM education was higher than before used activities, with statistical significance at the .01 level. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | สะเต็มศึกษา | en_US |
dc.title | การจัดกิจกรรมตามแนวคิดสะตีมศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดแก้ปัญหาและทักษะการทำงานเป็นทีมสำหรับเด็กปฐมวัย | en_US |
dc.title.alternative | Activity provision based on STEAM Education to promote problem-solving thinking and teamwork skills for early childhood students | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | โรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลแม่คือ | - |
thailis.controlvocab.thash | การแก้ปัญหาในเด็ก | - |
thailis.controlvocab.thash | การศึกษาปฐมวัย | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อเปรียบเทียบทักษะการคิดแก้ปัญหาและทักษะการทำงานเป็นทีมของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังจัดกิจกรรมตามแนวคิดสะตีมศึกษา ตัวอย่างที่ใช้การศึกษา คือ เด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 จำนวน 1 ห้องเรียน รวม 18 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แผนการจัดกิจกรรมตามแนวคิดสะตีมศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดแก้ปัญหาและการทำงานเป็นทีมสำหรับเด็กปฐมวัย แบบประเมินทักษะการคิดแก้ปัญหา และแบบสังเกตทักษะการทำงานเป็นทีม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติ Wilcoxon การศึกษาพบว่า 1. ทักษะการคิดแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัยหลังการจัดกิจกรรมตามแนวคิดสะตีมศึกษาสูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. ทักษะการทำงานเป็นทีมของเด็กปฐมวัยหลังการจัดกิจกรรมตามแนวคิดสะตีมศึกษามีสูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
๖๔๐๒๓๒๐๒๓ กาญจนา กิติยศ.pdf | 11.68 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.