Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79485
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอดิศักดิ์ ธีรานุพัฒนา-
dc.contributor.authorพิมพ์รัตน์ พนมขวัญen_US
dc.date.accessioned2024-05-30T09:42:58Z-
dc.date.available2024-05-30T09:42:58Z-
dc.date.issued2024-02-13-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79485-
dc.description.abstractThis independent research aimed to study the risk management in the stone quarry business of Kachatarn Construction Limited Company, Phrae province, to identify and assess the risk and determine the risk preventive strategy. In-depth data were collected from interviews with eight people from relevant companies, two partners and customers, and two representatives from the neighboring communities. The research methodology consisted of five steps: Planning and Preparation, Structure and Function Analysis, Risk Analysis, Failure Modes and Effects Analysis (FMEA), and Performance Results and Recommendations. The performance results illustrated the six dimensions of risk: 1) Management, 2) Personnel Management, 3) Finance and Accounting, 4) Environment Affecting the Business, 5) Partners/Customers, and 6) Competition and Marketing. After analyzing the risks using a Pareto diagram, we found that the Finance and Accounting department had the highest risk priority number(RPN) of 100 regarding cost of operation, circumspection, and business liquidity. The Operational Management Department (Personnel Management) had the second-highest RPN due to the shortage of personnel and lack of understanding of operations. The Competition and Marketing department had the third-highest RPN due to the strategy to attract customers and efficient product management. The Environment Affecting the Business had the fourth-highest RPN due to communication issues with surrounding communities and concession application problems. The Management department had the fifth-highest RPN due to the need for more planning. Finally, the Partners/Customers department had the sixth-highest RPN due to parts order and communication problems. The company improved the performance and set the solution and preventive measures, as well as prevented the risk, which would minimize the risk and the impact by increasing the control measures, monitoring and following up the operation to avoid the damage, and setting the short- and long-term planning to be ready for the unexpected circumstances.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการความเสี่ยงธุรกิจโรงโม่หินของบริษัทคชาธารก่อสร้าง จำกัด จังหวัดแพร่en_US
dc.title.alternativeRisk management in stone quarry business of Kachatarn construction company limited, Phare provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการบริหารความเสี่ยง -- แพร่-
thailis.controlvocab.thashบริษัทคชาธารก่อสร้าง จำกัด-
thailis.controlvocab.thashการควบคุมความสูญเปล่า-
thailis.controlvocab.thashโรงโม่หิน -- แพร่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการความเสี่ยงธุรกิจโรงโม่หิน บริษัทคชาธารก่อสร้าง จำกัด จังหวัดแพร่ เพื่อการระบุและประเมินความเสี่ยงของบริษัท คชาธารก่อสร้าง จำกัด และเพื่อกำหนดกลยุทธ์ แผนงานเพื่อป้องกันความเสี่ยง ผู้ศึกษาได้ทำการรวบรวมข้อมูลเชิงลึกจากการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องบริษัทจำนวน 8 คน คู่ค้าและลูกค้าจำนวน 2 คน และผู้แทนชุมชนใกล้เคียงจำนวน 2 คน วิธีการศึกษาประกอบด้วย 5ขั้นตอน 1.การวางแผนและเตรียมการ (Planning and Preparation) 2.วิเคราะห์โครงสร้างบริษัทและหน้าที่ความรับผิดชอบ (Structure and Function Analysis) 3.วิเคราะห์ความเสี่ยง (Risk Analysis) 4. ผลการประเมินความเสี่ยงโดยการวิเคราะห์ข้อบกพร่องและผลกระทบ(FMEA) 5. ผลลัพธ์จากการปฏิบัติงาน และข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง จากผลลัพธ์จากการปฏิบัติงาน พบว่า มีความเสี่ยง 6 ด้าน ได้แก่1. ด้านการบริหารจัดการ 2. ด้านการบริหารจัดการบุคลากร 3. ด้านบัญชีและการเงิน 4. ด้านสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อธุรกิจ 5. ด้านคู่ค้า/ลูกค้า 6. ด้านการแข่งขันและการตลาด โดยเมื่อจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยงโดยใช้แผนภูมิพาเรโต พบว่า ด้านบัญชีและการเงินในเรื่องของต้นทุนการดำเนินงาน ความรัดกุมและสภาพคล่องทางธุรกิจ มีระดับความเสี่ยง (RPN) เท่ากับ 100 รองลงมาคือ ด้านการบริหารจัดการการปฏิบัติงาน (ด้านการบริหารจัดการบุคลากร) ในเรื่องของการขาดแคลนบุคลากรและการขาดความเข้าใจในการปฏิบัติงาน ด้านการแข่งขันและการตลาดในเรื่องการกลยุทธ์การดึงดูดลูกค้าและการจัดการด้านการผลิตให้มีประสิทธิภาพ ด้านสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อธุรกิจในเรื่องของการสื่อสารกับชุมชนรอบเหมืองและการขอสัมปทาน ด้านการบริหารจัดการในเรื่องขาดการวางแผนงาน และ ด้านคู่ค้า/ลูกค้าในเรื่องการสั่งอะไหล่กับคู่ค้าและการสื่อสารกับลูกค้าตามลำดับ บริษัทได้มีการปรับปรุงการปฏิบัติงาน วางแนวทางในการแก้ไขและป้องกันความเสี่ยง โดยวิธีการลดความเสี่ยง ซึ่งมีการลดโอกาสการเกิด ลดผลกระทบหรือความเสียหายที่จะเกิดขึ้น โดยมีการเพิ่มระบบการควบคุม ตรวจสอบและการติดตามงานเพื่อป้องกันความเสียหาย อีกทั้งการวางแผนงานระยะสั้นและระยะยาวเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับสถานการณ์ที่ไม่คาดคิดen_US
Appears in Collections:BA: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621532041-พิมพ์รัตน์ พนมขวัญ.pdf25.12 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.