Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79420
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรพล เศรษฐบุตร-
dc.contributor.advisorภาณุพันธุ์ ประภาติกุล-
dc.contributor.advisorชาญชัย แสงชโยสวัสดิ์-
dc.contributor.authorปกป้อง ญาณะโคen_US
dc.date.accessioned2024-01-16T17:12:41Z-
dc.date.available2024-01-16T17:12:41Z-
dc.date.issued2566-11-17-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79420-
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to study the socioeconomic background of The Royal Project Foundation, Chiang Mai., 2) to analyze factors Acceptance of Application Prototype Model for Plant Protection Center, and 3) to study problems and suggestions that affect the use of the prototype application. Study samples consisted of 154 The Royal Project Foundation, Chiang Mai The online questionnaire form was used as a tool for data collection. The data were analyzed using descriptive statistics, Independent-Sample T-test , and F-test (One-way Analysis of Variance ANOVA).The study's findings reveal that the majority of personnel from the Royal Project Foundation in Chiang Mai are male. They have an average age of 35 years and hold undergraduate degrees. Their monthly incomes range between 20,000 to 30,000 Baht. Most of them hold positions as staff members and have an average work experience of 9.35 years. The primary plant types they are responsible for are vegetables and herbs. They predominantly utilize the Android operating system on smartphones, with an average app usage time of 19.68 minutes per session. The average frequency of app usage is 5.69 times per day. The average frequency of app usage is 3.98 days per week, with the peak usage time being from 09:01 to 12:00 AM. The personnel of the Royal Project Foundation in Chiang Mai utilize and exhibit usage levels across all four functions at a moderate level, with an average score of 3.18. When considering cach functions, the personnel of the Royal Project Foundation exhibit a high-frequency usage level in two functions. These functions are the Disease and Pest function, with an average score of 3.57, and the "Pesticide" function, with an average score of 3.48. Moderate-level usage is observed in two functions as well: the "Data Reporting" function, with an average score of 2.98, and the problem reporting function, with an average score of 2.70, respectively. In analyzing the differences in averages between independent variables and dependent variables, it was found that among the three independent variables, there are significant statistical differences in the acceptance of the prototype application by personnel of the Royal Project Foundation in Chiang Mai. These include age There are statistically significant differences in acceptance related to content information, usage benefits, ease of use, continuous usage, and control capability. Main plant types significant differences were observed in ease of use, continuous usage, and overall application usage. Frequency of application usage per week statistically significant differences were identified in terms of usage benefits, continuous usage, and control capability. Therefore, for the development of the prototype application for plant information services at the Royal Project Foundation in Chiang Mai, the primary focus should be on enhancing control and usability features. This entails improving convenience, simplicity, and user-friendliness to reduce complexity. Additionally, there should be an emphasis on increasing channels for dissemination and usage methods to promote knowledge and understanding of the prototype application. This approach aims to foster acceptance and positive attitudes towards continued use of the prototype application for plant information services.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการยอมรับการใช้แอพพลิเคชั่นต้นแบบบริการข้อมูลด้านอารักขาพืชของเจ้าหน้าที่มูลนิธิโครงการหลวง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeRoyal Project Foundation Officers’ acceptance of application prototype model for Plant Protection Center - Royal Project Foundation (PPC-RPF), Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashมูลนิธิโครงการหลวง -- พนักงาน-
thailis.controlvocab.thashการอารักขาพืช-
thailis.controlvocab.thashการอนุรักษ์พืช-
thailis.controlvocab.thashศัตรูพืช -- การควบคุม-
thailis.controlvocab.thashแมลงพาหะนำโรคพืช-
thailis.controlvocab.thashโรคพืช-
thailis.controlvocab.thashโปรแกรมประยุกต์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง การยอมรับการใช้แอปพลิเคชันต้นแบบบริการข้อมูลด้านอารักขาพืชของเจ้าหน้าที่มูลนิธิโครงการหลวง จังหวัดเชียงใหม่มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาลักษณะพื้นฐานส่วนบุคคลของเจ้าหน้าที่มูลนิธิโครงการหลวงเชียงใหม่ 2) วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการส่งผลต่อ การยอมรับการใช้งานแอปพลิเคชัน และ3) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะที่มีผลต่อการใช้งาน แอปพลิเคชันต้นแบบ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาครั้งนี้คือ เจ้าหน้าที่มูลนิธิโครงการหลวง เชียงใหม่ที่ลงทะเบียนใช้งานแอปพลิเคชัน กับทางศูนย์อารักขาพืช จำนวน 250 คน คำนวณขนาดของกลุ่มตัวอย่างจากประชากร โดยการใช้สูตรในการคำนวณของ ทาโร ยามาเน่ได้จำนวน 154 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างลักษณะพื้นฐานส่วนบุคคล ปัจจัยด้านสภาพการทำงานและปัจจัยด้านการใช้แอปพลิเคชันโดยใช้ T-test และ F-test (One-way Analysis of Variance ANOVA) วิเคราะห์ความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธี Scheffé Test ผลการศึกษา พบว่า เจ้าหน้าที่มูลนิธิโครงการหลวง จังหวัดเชียงใหม่ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 35 ปี จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีรายได้จากการทำงานระหว่าง 20,000 – 30,000 บาทต่อเดือน ส่วนใหญ่ทำงานในตำแหน่งพนักงาน มีประสบการณ์ทำงานเฉลี่ย 9.35 ปี ประเภทพืชหลักส่วนใหญ่ที่รับผิดชอบคือ กลุ่มงานผักและสมุนไพร และใช้ระบบปฏิบัติการสมาร์ทโฟนแอนดรอยด์ เป็นส่วนใหญ่ระยะเวลาในการใช้งานแอปพลิเคชันต้นแบบในแต่ละครั้งเฉลี่ย 19.68 นาทีต่อครั้ง และมีความถี่ในการใช้งานแอปพลิเคชันเฉลี่ย 5.69 ครั้งต่อวัน มีความถี่ในใช้การงานแอปพลิเคชันเฉลี่ย 3.98 วันต่อสัปดาห์ ช่วงเวลาที่มีการใช้งานมาก คือ 09:01-12:00 น. เจ้าหน้าที่มูลนิธิโครงการหลวง มีการใช้งานและปริมาณในการใช้งานทั้ง 4 ฟั่งก์ชัน ย่านระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 3.18) หากพิจารณาเป็นรายฟั่งก์ชัน พบว่า มีปริมาณในการใช้งานแอปพลิเคชันในระดับบ่อยมากใน 2 ฟั่งก์ชันได้แก่ ฟั่งก์ชันโรคและแมลงศัตรูพืช (ค่าเฉลี่ย 3.57) และฟั่งก์ชันสารกำจัดศัตรูพืช (ค่าเฉลี่ย 3.48) และมีปริมาณในการใช้งานแอปพลิเคชันในระดับปานกลางใน 2 ฟั่งก์ชันได้แก่ฟั่งก์ชันรายงานข้อมูล (ค่าเฉลี่ย 2.98) และฟั่งก์ชันรายงานปัญหา (ค่าเฉลี่ย 2.70) ตามลำดับ วิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างตัวแปรอิสระ กับตัวแปรตาม พบว่า ทั้งตัวแปรอิสระ 3 ตัวแปร ที่มีความแตกต่างของค่าเฉลี่ยกับการยอมรับการใช้แอปพลิเคชันต้นแบบของเจ้าหน้าที่มูลนิธิโครงการหลวง จังหวัดเชียงใหม่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ (1) อายุ ในการยอมรับด้านเนื้อหาข้อมูล ด้านประโยชน์ในการใช้งาน ด้านความง่ายในการใช้งาน ด้านการใช้งานต่อเนื่อง และด้านความสามารถในการควบคุม (2) ประเภทพืชหลักที่รับผิดชอบได้แก่ ด้านความง่ายในการใช้งาน ด้านการนำไปใช้อย่างต่อเนื่อง และด้านภาพรวมของการใช้งานแอปพลิเคชัน (3) ความถี่ในการใช้งานแอปพลิเคชันใน 1 สัปดาห์(ครั้ง/สัปดาห์) ในด้านประโยชน์ในการใช้งาน ด้านการนำไปใช้อย่างต่อเนื่อง และด้านความสามารถในการควบคุม ดังนั้น เพื่อการพัฒนาแอปพลิเคชันต้นแบบบริการข้อมูลด้านอารักขาพืช ศูนย์อารักขาพืชมูลนิธิโครงการหลวง เชียงใหม่ ควรมุ่งพัฒนาระบบด้านความสามารถในการควบคุมและใช้งานแอปพลิเคชัน เป็นอันดับแรกโดยมุ่งเน้นปรับปรุงพัฒนาแอปพลิเคชันให้มีการใช้งานสะดวก ไม่ซับซ้อน ง่ายต่อการใช้งานยิ่งขึ้นเพื่อลดความยุ่งยากในการใช้งานและควรมีการเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ วิธีการใช้งานเพื่อเป็นการส่งเสริมให้ความรู้ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแอปพลิเคชันต้นแบบบริการข้อมูลด้านอารักขาพืชเพื่อสร้างการยอมรับและทัศนคติที่ดีการใช้งานแอปพลิเคชันต้นแบบบริการต่อไปen_US
Appears in Collections:AGRI: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630832011 ปกป้อง ญาณะโค.pdf5.5 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.