Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79405
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปฏิรูป ผลจันทร์-
dc.contributor.authorนายถิรวิทย์ อินสุวรรณen_US
dc.date.accessioned2024-01-12T10:40:25Z-
dc.date.available2024-01-12T10:40:25Z-
dc.date.issued2023-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79405-
dc.description.abstractThis independent study was conducted to determine the method for improving the quality of the Kwang River by analyzing the source of wastewater affecting the quality of the water. Three monitoring points were assigned, namely CMU01 which was the area of wastewater discharge from Northern Region Industrial Estate; CMU02 which was at Tha Nang Bridge area and CMU03, which was at the Ban Yu Bridge area. Samples were collected once a month during December 2022 - February 2023, to analyse and calculate for the Water Quality Index (WQI) and compare with the results of Environmental and Pollution Control Office 1 (Chiang Mai). In addition, the actual measurement results were compared with the prediction from Streeter-Phelps model. It was found that the water quality in the Kwang River during December 2022 and January 2023 was in good conditions while in February 2023, it was in fair conditions. Sources of wastewater that were influential in the study area were those from industrial estates and domestic wastewater. To improve the quality of the Kwang River, a system for treating wastewater from wastewater should be considered.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์แหล่งกำเนิดน้ำเสียของแม่น้ำกวงและการหาแนวทางสำหรับการปรับปรุงคุณภาพน้ำen_US
dc.title.alternativeAnalysis of wastewater generating source of kuang river and determination of water quality improvement guidelineen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashมลพิษทางน้ำ -- ลำพูน-
thailis.controlvocab.thashน้ำเสีย -- ลำพูน-
thailis.controlvocab.thashน้ำเสีย -- การบำบัด -- ลำพูน-
thailis.controlvocab.thashคุณภาพน้ำ-
thailis.controlvocab.thashแม่น้ำกวง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้ดำเนินการเพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงคุณภาพของแม่น้ำกวง โดยวิเคราะห์ หาแหล่งกำเนิดน้ำเสียสำคัญที่มีผลต่อคุณภาพของแม่น้ำกวงในปัจจุบัน การดำเนินการศึกษาได้กำหนดจุดตรวจวัดคุณภาพจำนวน 3 จุด ได้แก่ บริเวณจุดปล่อยน้ำทิ้งนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ (CMU01), บริเวณสะพานท่านาง (CMU02) และบริเวณสะพานบ้านยู้ (CMU03) โดยเก็บข้อมูลคุณภาพแม่น้ำกวงเดือนละ 1 ครั้ง ในช่วงเดือนธันวาคม 2565, เดือนมกราคม 2566 และ เดือนกุมภาพันธ์ 2566 เพื่อนำไปคำนวณค่าดัชนีคุณภาพแหล่งน้ำผิวดิน (WQI) และเปรียบเทียบกับผลของสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 1 (เชียงใหม่) และใช้โมเดลของสมการ Streeter-Phelps เพื่อเปรียบเทียบผลลัพธ์จากโมเดลกับผลการตรวจวัดจริง ณ จุดตรวจวัด ผลการศึกษาพบว่าผลคุณภาพน้ำในแม่น้ำกวงในช่วงเดือน ธันวาคม 2565 และเดือนมกราคม 2566 อยู่ในเกณฑ์ดี ส่วนในเดือนกุมภาพันธ์ 2566 อยู่ในเกณฑ์พอใช้ โดยแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่สำคัญในพื้นที่ที่ทำการศึกษาพบว่ามาจากน้ำทิ้งของนิคมอุตสาหกรรม และน้ำทิ้งจากชุมชนเป็นหลัก ในการปรับปรุงคุณภาพของแม่น้ำกวง ควรมีการจัดทำระบบบำบัดน้ำเสียรวมก่อนปล่อยลงสู่แม่น้ำกวงen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640632007-THIRAWIT INSUWAN.pdfการวิเคราะห์แหล่งกำเนิดน้ำเสียของแม่น้ำกวงและการหาแนวทางสำหรับการปรับปรุงคุณภาพน้ำ8.48 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.