Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79393
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเดชา ทำดี-
dc.contributor.advisorณัฐธยาน์ สุวรรณคฤหาสน์-
dc.contributor.authorเอมพร บัวทองจันทร์en_US
dc.date.accessioned2024-01-11T09:56:48Z-
dc.date.available2024-01-11T09:56:48Z-
dc.date.issued2023-11-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79393-
dc.description.abstractSelf-management is important behavior for older persons with uncontrolled hypertension in order to control their disease. This quasi-experimental research with two groups measured results before and after the experiment. The objective was to study the results of the health literacy promotion program on self-management behaviors among older persons with uncontrolled hypertension. The sample group included older persons diagnosed with hypertension and uncontrolled hypertension who received services at the health-promoting hospital in Nakae district, Nakhon Phanom province. A total of 48 subjects were randomly selected and assigned to either the experimental or control group (24 in each). The experimental group participated in the health education program, while the control group received routine care. The tool used in the study consisted of two parts: 1) the tool used in the experiment composins of a health literacy promotion program and 2) a data collection tool, including a personal and illness data recording form, and a measurement of self - management behaviors among older persons with uncontrolled hypertension. The health literacy promotion program was checked for content validity by six experts. Regarding the measurement tool for self-management behavior, the researcher tested the internal consistency and obtained a Cronbach's correlation coefficient of .91. Data were analyzed by descriptive statistics, independent t-test statistics, and dependent t-test statistics. The results of the research found that the experimental group had a significantly higher self-management mean score than before participating in the intervention as well as a significantly higher mean score than that of the control group (p<.001). Healthcare providers can apply this model for promoting health literacy as a guideline for health education in older persons with uncontrolled hypertension to improve their self-management.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของโปรแกรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองในผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้en_US
dc.title.alternativeEffect of the health literacy promoting program on self-management behaviors among older persons with uncontrolled hypertensionen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashความดันเลือดสูง -- ผู้ป่วย-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ -- การดูแล-
thailis.controlvocab.thashการพยาบาลผู้สูงอายุ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการจัดการตนเองเป็นพฤติกรรมสำคัญที่ช่วยให้ผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้สามารถควบคุมการเจ็บป่วยได้ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดผลก่อนหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองในผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้สูงอายุที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงและไม่สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ ที่มารับบริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล ในอำเภอนาแก จังหวัดนครพนม คัดเลือกโดยการสุ่มอย่างง่ายจำนวน 48 ราย สุ่มเข้ากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 24 ราย โดยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลดูแลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษามี 2 ส่วน 1. เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือโปรแกรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ 2. เครื่องมือรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลการเจ็บป่วย และแบบวัดพฤติกรรมการจัดการตนเองในผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ โดยโปรแกรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 6 ท่าน และแบบวัดพฤติกรรมการจัดการตนเองในผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ ผู้วิจัยได้นำไปทดสอบความเชื่อมั่นแบบความสอดคล้องภายใน (internal consistency) ได้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของครอนบาค เท่ากับ .91 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิติอ้างอิงด้วยการทดสอบทีแบบอิสระ และการทดสอบทีแบบไม่อิสระ ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพมีคะแนนเฉลี่ยการจัดการตนเองสูงกว่าก่อนทดลองและสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) ดังนั้นบุคลากรด้านสุขภาพสามารถนำรูปแบบการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพไปประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อให้ผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้มีการจัดการตนเองดีขึ้นen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631231202 เอมพร บัวทองจันทร์ WM.pdf2.34 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.