Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79390
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Prompong Sugunnasil | - |
dc.contributor.author | Xiaohui, Bao | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-01-10T01:27:54Z | - |
dc.date.available | 2024-01-10T01:27:54Z | - |
dc.date.issued | 2023-11-11 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79390 | - |
dc.description.abstract | The equality of education is very important to the country's development. However, the number of teachers who work in the rural area has significantly decreased. This situation causes a shortage in the number of rural teachers. This study proposes machine learning models for predicting the employment region of higher vocational college graduates. The data is gathered from graduates from a vocational college in Guangxi, Beihai vocational college. The size of the population is 454 where 285 samples work in the urban area and 169 samples work in the rural area. This research was performed by pre-processing the data, comparing the performance of the algorithms, and resampling methods. The results indicate that the F1-score of the best machine learning model can reach 0.991 ± 0.015. As nations strive for educational equity, our findings offer a framework to inform strategies for attracting graduates to rural teaching roles in both rural and urban areas. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | employment region, teacher selection, rural education, machine learning | en_US |
dc.title | Prediction of employment region of graduates using machine learning approach | en_US |
dc.title.alternative | การพยากรณ์พื้นที่ทำงานของบัณฑิตโดยใช้วิธีการเรียนรู้ของเครื่อง | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.lcsh | Teacher | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Education personnel | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Machine learning | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การเท่าเทียมกันทางการศึกษาเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างสูงต่อการพัฒนาประเทศ แต่อย่างไรก็ตาม จำนวนของครูในพื้นที่นอกเขตเมืองมีจำนวนลดลงอย่างเห็นได้ชัดทำให้ขาดบุคคลากร การศึกษานี้นำเสนอตัวแบบการเรียนรู้ของเครื่องสำหรับการทำนายพื้นที่ในการทำงานของผู้สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยอาชีวศึกษา ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษานี้เป็นข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษาจากเก็บจากวิทยาลัยอาชีวศึกษา Beihai ในมลฑลกวางสี มีจำนวนประชากรที่ 454 ตัวอย่างแบ่งเป็นคนที่ทำงานในเขตเมือง 285 ตัวอย่าง และทำงานนอกเขตเมือง 169 ตัวอย่าง งานวิจัยนี้ดำเนินการกระบวนการเตรียมข้อมูล ทำการเปรียบเทียบขั้นตอนวิธี และวิธีการสุ่มข้อมูล คะแนน F1 ของตัวแบบที่ดีที่สุดมีค่าสูงถึง 0.991 ± 0.015 ผลการศึกษานี้จะเป็นการสนับสนุนและส่งเสริมให้ประเทศสามารถมีเครื่องมือที่จะกำหนดนโยบายในการดึงดูดให้ผู้ที้สำเร็จการศึกษาทำงานเป็นครูในพื้นที่ทั้งในเขตเมืองและนอกเขตเมือง เพื่อให้ด้วยประเทศมีความเสมอภาคทางการศึกษา | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
650632032-Bao Xiaohui.pdf | 12.34 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.