Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79387
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPrasit Leepreecha-
dc.contributor.authorMatahari Irandiputrien_US
dc.date.accessioned2024-01-10T01:16:02Z-
dc.date.available2024-01-10T01:16:02Z-
dc.date.issued2023-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79387-
dc.description.abstractCommodification can be understood as the process of turning something into valuable goods. In a setting of tourism activities, scholars argued that in ethnic community destinations this phenomenon usually happened. Ethnic community villages in Chiang Mai are known for their way of life that is rooted in nature and practice conservation as the way to sustain the nature surrounding their homes. Mae Klang Luang is a Karen ethnic village located in Doi Inthanon National Park, District of Chomthong, Chiang Mai. In the past, the community used to participate in opium plantation and practiced traditional swidden agriculture. After opium was illegalized and traditional agriculture was prohibited by the authorities, the community experienced major changes in their livelihood including their adaptation to terrace paddy field cultivation and acceptance to the Royal Project substitute commodities. The thesis to this research is that the Karen community in Mae Klang Luang takes tourism through commodification as a means of struggle after major shifts in their circumstances from socio-political changes. This participation in tourism later contributed to the contestation of their ethnic identity. At present, this S’gaw Karen community village have been participating in tourism activities for about two decades, offering the experience of being close with the nature. This research employed three concepts to understand the process of commodification in the village. Commodification as the major concept is employed to analyze the process as a whole with two supporting minor concepts; ethnic identity and community based tourism (CBT). This research looked at both nature and culture that are parts of the Karen ethnic identity in Mae Klang Luang involved under tourism activities and how the local community manages these tourism activities in the village. The beautiful atmosphere of terrace paddy field holds an important role not only as the village’s main agriculture practice but also as the main tourist attraction. The fieldwork was conducted in the village for both data collection and visiting period of seven months to see the stages of process of the paddy field cultivation and the diversification of plants as part of their strategy to attract tourists. The research found that the Karen people in Mae Klang Luang turned the nature surrounding the village that is part of their culture and their unique culture to become tourist attractions on two accounts; human resource distribution and ethnic identity contestation. Additionally, this research also found interesting finding that coffee came as a substitute commodity to the village from the Royal Project but at present, local “Karen” coffee shops in the village can be found providing local made coffee crafts to the tourists. However, tourism in the village under community based tourism (CBT) does not run without implication and challenges. This research concluded that tourism through commodification provides a presence for the village to not only promote their culture but also to contest their ethnic identity from the imposed stigma of being traditional and non-modern. The organized terrace paddy field shows their strategy in developing tourism in the village and their commitment to the coffee production shows the nurtured relationship between the village and the Royal Project authorities. For Mae Klang Luang, this research addresses recommendation on the account of the village’s digital information by the local Karen youth participation to maximize it. For future publications, this research addresses to the issue of contribution to the village’s initiation to strive for development in their own village rather than to wider the perspective that they are the victim of modernization that is tourism.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectCommodification, Ethnic tourism, Karen ethnic, CBT, Chiang Mai Tourismen_US
dc.titleCommodifying nature and culture for tourism in Mae Klang Luang Karen village, Chiang Maien_US
dc.title.alternativeการทำธรรมชาติและวัฒนธรรมให้เป็นสินค้าการท่องเที่ยวในชุมชนกะเหรี่ยงแม่กลางหลวง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshHeritage tourism -- Chiang Mai-
thailis.controlvocab.thashKaren (Southeast Asian people) -- Chiang Mai-
thailis.controlvocab.thashSgaw karen (Southeast Asian people) -- Chiang Mai-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการทำให้กลายเป็นสินค้าสามารถเข้าใจได้ว่าเป็นกระบวนการเปลี่ยนบางสิ่งให้กลายเป็นของมีค่าในบริบทของการท่องเที่ยว นักวิชาการนำเสนอว่าปรากฏการณ์นี้มักเกิดขึ้นในสถานที่ท่องเที่ยวของชุมชนชาติพันธุ์ หมู่บ้านชุมชนชาติพันธุ์ในจังหวัดเชียงใหม่ขึ้นชื่อในเรื่องวิถีชีวิตที่มีรากฐานมาจากธรรมชาติและปฏิบัติการอนุรักษ์เพื่อเป็นแนวทางในการรักษาธรรมชาติรอบชุมชนของพวกเขา แม่กลางหลวงเป็นหมู่บ้านชาวกะเหรี่ยงที่ตั้งอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ในอดีตผู้คนในชุมชนเคยทำการปลูกฝิ่นและทำเกษตรกรรมหมุนเวียนแบบดั้งเดิม หลังจากที่ฝิ่นถูกรัฐทำให้ผิดกฎหมายและทางการห้ามเกษตรกรรมแบบดั้งเดิม ชุมชนประสบการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในการดำรงชีวิต ด้วยการปรับตัวให้เข้ากับการปลูกนาขั้นบันไดและได้รับการส่งเสริมพืชเศรษฐกิจโดยโครงการหลวง วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการศึกษา คือ ชุมชนกะเหรี่ยงแม่กลางหลวงที่ทำการท่องเที่ยวผ่านกระบวนการทำธรรมชาติและวัฒนธรรมให้กลายเป็นสินค้า เป็นกลยุทธของชาวบ้านหลังจากการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในสถานการณ์ทางสังคมและการเมือง การมีส่วนร่วมในด้านการท่องเที่ยวนี้มีส่วนทำให้เกิดข้อค้นพบเกี่ยวกับอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ของพวกเขาในเวลาต่อมา ชุมชนกะเหรี่ยงสะกอแห่งนี้ได้เข้าร่วมกิจกรรมการท่องเที่ยวมาประมาณสองทศวรรษ โดยเน้นวิถีชีวิตที่อยู่กับธรรมชาติ การวิจัยครั้งนี้ใช้สามแนวคิดเพื่อทำความเข้าใจกระบวนการทำให้กลายเป็นสินค้าในหมู่บ้าน ประกอบด้วย แนวคิดกระบวนการทาให้กลายเป็นสินค้า(Commodification) เป็นแนวคิดหลักที่ใช้ในการวิเคราะห์กระบวนการโดยรวม โดยมีสองแนวคิดรองคือ อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์และการท่องเที่ยวโดยชุมชน งานวิจัยนี้ศึกษาทั้งธรรมชาติและวัฒนธรรมที่เป็นส่วนหนึ่งของอัตลักษณ์ชาติพันธุ์กะเหรี่ยงในชุมชนแม่กลางหลวงที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการท่องเที่ยว และวิธีที่ชุมชนท้องถิ่นจัดการกิจกรรมการท่องเที่ยวเหล่านี้ในหมู่บ้าน ภายใต้บรรยากาศที่สวยงามของนาข้าวขั้นบันไดมีบทบาทสำคัญคือไม่เพียงแต่เป็นการเกษตรกรรมหลักของหมู่บ้านเท่านั้น แต่ยังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวหลักอีกด้วย ผู้วิจัยได้ดาเนินงานภาคสนามในหมู่บ้านทั้งในการรวบรวมข้อมูลและการสังเกตการณ์เป็นระยะเวลาเจ็ดเดือนเพื่อดูขั้นตอนกระบวนการเพาะปลูกนาข้าวและความหลากหลายของพันธุ์พืช ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์ในการดึงดูดนักท่องเที่ยว ผลการวิจัยพบว่าชาวกะเหรี่ยงในแม่กลางหลวงได้เปลี่ยนธรรมชาติรอบหมู่บ้านที่เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมและมีความเป็นเอกลักษณ์ให้กลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวในสองประเด็น คือ การกระจายทรัพยากรมนุษย์และการช่วงชิงอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ นอกจากนี้ งานวิจัยนี้ยังพบสิ่งที่น่าสนใจว่ากาแฟกลายมาเป็นสินค้าทดแทนเพราะผลพวงจากโครงการหลวง แต่ปัจจุบันร้านกาแฟกะเหรี่ยงในหมู่บ้านสามารถจำหน่ายงานฝีมือกาแฟท้องถิ่นให้กับนักท่องเที่ยวได้ อย่างไรก็ตาม การท่องเที่ยวในหมู่บ้านภายใต้การท่องเที่ยวโดยชุมชน (CBT) ไม่ได้ดำเนินไปการต่อเนื่อง หรือไม่ได้มีนัยอีกต่อไป หากแต่ งานวิจัยนี้สรุปว่าการท่องเที่ยวโดยการแปลงธรรมชาติและวัฒนธรรมให้เป็นสินค้าช่วยให้ให้หมู่บ้านไม่เพียงแต่ส่งเสริมวัฒนธรรมเท่านั้น แต่ยังเป็นการโต้แย้งอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์จากการที่เคยถูกตีตราว่าเป็นประเพณีดั้งเดิมและไม่ทันสมัยอีกด้วย นาขั้นบันไดที่แสดงให้เห็นถึงกลยุทธ์ในการพัฒนาการท่องเที่ยวในหมู่บ้าน นอกจากนั้นแล้วความมุ่งมั่นในการผลิตกาแฟแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างชาวบ้านกับเจ้าหน้าที่โครงการหลวง สำหรับชาวบ้านในแม่กลางหลวง งานวิจัยนี้มีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ดิจิทัลของหมู่บ้านโดยการมีส่วนร่วมของเยาวชนกะเหรี่ยงในพื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด สำหรับการศึกษาวิจัยในอนาคต งานวิจัยนี้เสนอแนะให้ทาประเด็นการมีส่วนร่วมในการริเริ่มของหมู่บ้านเพื่อมุ่งมั่นในการพัฒนาหมู่บ้าน มากกว่าที่จะขยายมุมมองให้กว้างขึ้นว่าพวกเขาเป็นเหยื่อของความทันสมัยผ่านกิจกรรมการท่องเที่ยวen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630435820-Matahari Irandiputri.pdf3.09 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.