Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79367
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยวุฒิ ตั้งสมชัย-
dc.contributor.authorพรชนก เสนะสุทธิพันธุ์en_US
dc.date.accessioned2024-01-02T17:33:02Z-
dc.date.available2024-01-02T17:33:02Z-
dc.date.issued2566-11-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79367-
dc.description.abstractThis study aimed to investigate the high school student brand perception in Mueang Chiang Mai District Towards Bachelor of Political Science Program in International Affairs, Faculty of Political Science and Public Administration, Chiang Mai University. The population in this study were 12,737 senior high school students from 17 schools and studying in both public schools and private schools in Mueang Chiang Mai District. The 510 samples were selected by using Seymour Sudman sample size chart which was a nonprobability sampling method and set sample quota according to the proportion of high school students of each school. The data was collected by using a questionnaire as a tool and the concept of Kapferer’s Brand Identity Prism was used in this study, which had 6 elements, namely, Physique, Personality, Relationship, Culture, Reflection, and Self-Image. The results of Exploratory Factor Analysis for brand perception had 4 components: component 1: Physique, component 2: Personality, component 3: Self perception related with brand through atmosphere and service of organization, and component 4: Self-potential Perception as being a new generation of brand users. The results found that all the 510 samples, 296 were females, 194 were males, 11 were alternate gender and 9 was not specified. After receiving the primary information, most of the samples were interested in the Program. Most of them were studying in private schools with a GPA of 3.51 - 4.00. The family monthly income was more than 30,000 baht. The result of Mean Analysis showed that most components were at a high level. The result of Differences Analysis, using One-way ANOVA and Least Significant Difference to test 4 components, grouping by GPA, the result found that there were 3 components had statistically significant differences at level 0.05, which were component 2: Personality, component 3: Self-perception who related with brand through atmosphere and service of organization, and component 4: Self-potential perception in being a new generation of brand users. If grouping by monthly family income, the result found that no components had statistically significant differences at level 0.05. And grouping by gender, the result found that component 4: Self-potential perception in being a new generation of brand users had statistically significant differences at level 0.05. The result of Differences Analysis, using t-test to test 4 components, grouping by the students who were interested in studying in the Program, the result found that there were 2 components had statistically significant differences at level 0.05, which were component 1: Physique and component 2: Personality. While grouping by educational institution, the result found that there were 2 components had statistically significant differences at level 0.05, which were component 1: Physique and component 3: Self-perception related with brand through atmosphere and service of organization.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการรับรู้ตราผลิตภัณฑ์en_US
dc.subjectนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายen_US
dc.subjectหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการระหว่างประเทศen_US
dc.subjectคณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์en_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการรับรู้ตราผลิตภัณฑ์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ต่อหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeBrand perception of high school students in Mueang Chiang Mai District towards bachelor of Political Science Program in International Affairs, Faculty of Political Science and Public Administration, Chiang Mai Universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สาขาวิชาการระหว่างประเทศ-
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์-
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ -- หลักสูตร-
thailis.controlvocab.thashการศึกษา -- หลักสูตร-
thailis.controlvocab.thashการศึกษาขั้นอุดมศึกษา-
thailis.controlvocab.thashชื่อตราผลิตภัณฑ์-
thailis.controlvocab.thashนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษา เรื่อง การรับรู้ตราผลิตภัณฑ์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในอำเภอเมืองเชียงใหม่ต่อหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์และ รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการรับรู้ตราผลิตภัณฑ์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในอำเภอเมืองเชียงใหม่ ต่อหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญที่กำลังศึกษาอยู่ในโรงเรียนรัฐบาลและเอกชน ในเขตอำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ จำนวนทั้งสิ้น 17 โรงเรียน มีประชากรทั้งสิ้น 12,737 คน และได้กำหนดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 510 คน โดยใช้ตารางขนาดตัวอย่างของ Seymour Sudman ซึ่งเป็นวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็น กำหนดกลุ่มตัวอย่างแบบโควตา ตามสัดส่วนของนักเรียนมัธยมปลายของแต่ละโรงเรียนโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือวิจัย โดยนำแนวคิด Kapferer’s Brand Identity Prism จำนวน 6 องค์ประกอบมาศึกษา ได้แก่ องค์ประกอบด้านกายภาพของตราผลิตภัณฑ์, องค์ประกอบด้านบุคลิกภาพของตราผลิตภัณฑ์, องค์ประกอบด้านความสัมพันธ์ระหว่างตราผลิตภัณฑ์กับผู้ใช้ตราผลิตภัณฑ์, องค์ประกอบด้านวัฒนธรรมองค์การ, องค์ประกอบด้านความสามารถในการสะท้อนตัวตนของผู้ใช้ตราผลิตภัณฑ์ และองค์ประกอบด้านการรับรู้เกี่ยวกับตนเองของบุคลากรในองค์การเจ้าของตราผลิตภัณฑ์ ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจที่มีผลการรับรู้ตราผลิตภัณฑ์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในอำเภอเมืองเชียงใหม่ต่อหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 4 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1: กายภาพของตราผลิตภัณฑ์ องค์ประกอบที่ 2: บุคลิกภาพตราผลิตภัณฑ์ องค์ประกอบที่ 3: การรับรู้ตัวตนของผู้ที่มีความสัมพันธ์กับตราผลิตภัณฑ์ผ่านบรรยากาศการทำงานและการให้บริการขององค์การ และองค์ประกอบที่ 4: การรับรู้ในศักยภาพตนเองด้านการเป็นคนรุ่นใหม่ของผู้ใช้ตราผลิตภัณฑ์ ผลการศึกษา พบว่า มีผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 510 คน เป็นเพศหญิง จำนวน 296 คน เป็นเพศชาย จำนวน 194 คน เป็นเพศทางเลือก จำนวน 11 คน และไม่ระบุเพศ จำนวน 9 คน หลังจากได้รับข้อมูลเบื้องต้นผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความสนใจเข้าศึกษาในหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สังกัดโรงเรียนเอกชน มีช่วงเกรดเฉลี่ย 3.51 – 4.00 มีรายได้ของครอบครัวต่อเดือนมากกว่า 30,000 บาท ผลการการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยเพื่อศึกษาการรับรู้ตราผลิตภัณฑ์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในอำเภอเมืองเชียงใหม่ต่อหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พบว่าส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก ผลการวิเคราะห์ความแตกต่างของการรับรู้ตราผลิตภัณฑ์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายในอำเภอเมืองเชียงใหม่ต่อหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยใช้การวิเคราะห์แบบความแปรปรวนแบบทางเดียว และทดสอบความแตกต่างด้วยวิธีผลต่างนัยสำคัญน้อยที่สุด ขององค์ประกอบทั้ง 4 องค์ประกอบ พบว่า ผลการวิเคราะห์ตามกลุ่มเกรดเฉลี่ย มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ณ ระดับ 0.05 คือ องค์ประกอบที่ 2: บุคลิกภาพตราผลิตภัณฑ์ องค์ประกอบที่ 3: การรับรู้ตัวตนของผู้ที่มีความสัมพันธ์กับตราผลิตภัณฑ์ผ่านบรรยากาศการทำงานและการให้บริการขององค์การ และองค์ประกอบที่ 4: การรับรู้ในศักยภาพตนเองด้านการเป็นคนรุ่นใหม่ของผู้ใช้ตราผลิตภัณฑ์ ในขณะที่ผลการวิเคราะห์ตามกลุ่มรายได้ของครอบครัวต่อเดือนไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ณ ระดับ 0.05 และผลการวิเคราะห์ตามกลุ่มเพศ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ณ ระดับ 0.05 คือ องค์ประกอบที่ 4: การรับรู้ในศักยภาพตนเองด้านการเป็นคนรุ่นใหม่ของผู้ใช้ตราผลิตภัณฑ์ ผลการวิเคราะห์ความแตกต่างของการรับรู้ตราผลิตภัณฑ์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายในอำเภอเมืองเชียงใหม่ต่อหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยใช้วิธีทดสอบที (T-test) ขององค์ประกอบทั้ง 4 องค์ประกอบ พบว่า ผลการวิเคราะห์ตามกลุ่มความสนใจศึกษาด้านรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ณ ระดับ 0.05 คือ องค์ประกอบที่ 1: กายภาพของตราผลิตภัณฑ์ และองค์ประกอบที่ 2: บุคลิกภาพตราผลิตภัณฑ์ ในขณะที่ผลการวิเคราะห์ตามกลุ่มสถาบันการศึกษา มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ณ ระดับ 0.05 คือ องค์ประกอบที่ 1: กายภาพของตราผลิตภัณฑ์ และองค์ประกอบที่ 3: การรับรู้ตัวตนของผู้ที่มีความสัมพันธ์กับตราผลิตภัณฑ์ผ่านบรรยากาศการทำงานและการให้บริการขององค์การen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631532068-พรชนก เสนะสุทธิพันธุ์.pdf2.42 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.