Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79357
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSureeporn Uthaikhup-
dc.contributor.authorRungtawan Chaiklaen_US
dc.date.accessioned2024-01-02T16:52:17Z-
dc.date.available2024-01-02T16:52:17Z-
dc.date.issued2022-02-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79357-
dc.description.abstractอาการปวดคอมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับความผิดปกติของการเคลื่อนไหวของกระดูกสะบัก (scapular dyskinesis) และความบกพร่องของการทำงานของกล้ามเนื้อบริเวณกระดูกสะบักและไหล่ ยังไม่มีการศึกษาเกี่ยวกับความคงที่ของแรงขณะที่มีการเคลื่อนไหวของแขนในผู้ที่มีอาการปวดคอ ร่วมกับความผิดปกติของการเคลื่อนไหวของกระดูกสะบัก ความสัมพันธ์ระหว่างความคงที่ของแรง และลักษณะของอาการปวดคอยังไม่เป็นที่ทราบเช่นกัน ดังนั้นวัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อ ศึกษาความคงที่ของแรงกางแขน 30 องศาที่ระดับความหนักร้อยละ 20 และ 50 ของแรงกางแขนสูงสุด ในผู้ที่มีอาการปวดคอร่วมกับความผิดปกติของการเคลื่อนไหวของกระดูกสะบักและ ผู้ที่ไม่มีอาการ ปวดคอ และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความคงที่ของแรงและลักษณะ ของอาการปวดคอ ผู้เข้าร่วมการศึกษาประกอบด้วยเพศหญิงและ ชายจำนวน 2 คน (ผู้ที่มีอาการปวดคอร่วมกับความ ผิดปกติของการเคลื่อนไหวของกระดูกสะ บักจำนวน 26 คน และผู้ที่ไม่มีอาการปวดคอ จำนวน 26 คน) ความคงที่ของแรงในท่ากางแขน 30 องศาวัดที่ระดับความหนักร้อยละ 20 และ 50 ของแรงกาง แขนสูงสุด ค่าสัมประสิทธิ์ของความแปรปรวน ของแรงถูกนำมาใช้ในการคำนวณ ลักษณะของอาการ ปวดคอได้แก่ ความรุนแรงของอาการปวดคอ ระยะเวลา ความบกพร่องความสามารถของคอ และ ความบกพร่องของรยางค์แขน ผลการศึกษาพบว่าความคงที่ของแรงกางแขนที่ระดับความหนักร้อยละ 20 และ 50 ของแรงกางแขนสูงสุดลคลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในผู้ที่มีอาการปวดคอเมื่อ เปรียบเทียบกับผู้ที่ไม่มีอาการปวดคอ (p < 0.05, η2 p = 0.10 และ p <0.001, η2p, = 0.26,ตามลำดับ) ไม่พบความแดกต่างระ หว่างกลุ่มของแรงกางแขนสูงสุดและไม่พบความสัมพันธ์ ระหว่างความคงที่ ของแรงกางแขนและ ลักษณะของอาการปวดคอ (p > 0.05) ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าผู้ที่มีอาการ ปวดคอร่วมกับความผิดปกติของการเคลื่อนไหวของกระดูกสะบักมีการลดลงของความคงที่ของแรง กางแขน ซึ่งอาจจะสะท้อนได้ถึงความบกพร่องของการควบคุมการทำงานของไหล่และกระดูกสะบัก (sensory-motor control) ที่เกี่ยวข้องกับอาการปวดคอ ความสัมพันธ์ระหว่างความคงที่ของแรงและ ลักษณะของการปวดคอจำเป็นต้องทำการศึกษาเพิ่มเติมในอนาคตen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleShoulder-abduction force steadiness in individuals with neck pain with Scapular Dyskinesisen_US
dc.title.alternativeความคงที่ของแรงกางแขนในผู้ที่มีอาการปวดคอร่วมกับความผิดปกติของการเคลื่อนไหวของกระดูกสะบักen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshNeck pain-
thailis.controlvocab.lcshNeck -- Diseases-
thailis.controlvocab.lcshScapula -- Movements-
thailis.controlvocab.lcshMovement disorders-
thailis.controlvocab.lcshHuman mechanics-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractNeck pain is associated with scapular dyskinesis and impaired axio-scapular and shoulder muscle activity and function. However, there is no research on force steadiness. specifically during shoulder motion in patients with neck pain with scapular dyskinesis. Its relationship with characteristics of neck pain is also unknown. The objectives of this study were to investigate force steadiness at 20% and 50% of MVC of shoulder abduction (30 degrees) in persons with neck pain with scapular dyskinesis compared to asymptomatic controls and to determine its relationships with characteristics of neck pain. Fifty-two women and men (26 neck pain with scapular dyskinesis and 26 asymptomatic controls) were recruited to the study. Force steadiness of 30 degrees of shoulder abduction was measured at 20% and 50% of maximal voluntary contraction (MVC). Coefficient of variation (CV) of force values were calculated. Characteristics of neck pain included neck pain intensity, duration and disability and upper limb disability. The results demonstrated that participants in neck pain had significantly reduced force steadiness of isometric shoulder abduction at 20% and 50% of MVC compared to the control group (p < 0.05. η2 p=0.10 and p < 0.001, η2 p = 0.26, respectively). There were no correlations between force steadiness and characteristics of neck pain (p > 0.05). The results of this study suggest that patients with neck pain with scapular dyskinesis had reduced shoulder abduction force steadiness. This may reflect impaired shoulder/scapular sensory-motor control associated with neck pain. The relationships between force steadiness and characteristics of neck pain are still needed to be explored in further studies.en_US
Appears in Collections:AMS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631131002 รุ้งตะวัน ใจกล้า.pdf1.33 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.