Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79355
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มานพ แก้วโมราเจริญ | - |
dc.contributor.author | เจตนิพัทธ์ ตะปานนท์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-01-02T16:39:51Z | - |
dc.date.available | 2024-01-02T16:39:51Z | - |
dc.date.issued | 2565-01-24 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79355 | - |
dc.description.abstract | Typically, the drawings of the roof structure are drawn as two-dimension AutoCAD drawings which prone to error and difficulty in control, communication, distribution, and inspection of the construction process. As several issues occur from the miscommunication of two-dimension drawings such as inaccuracy of joint locations or mismatching dimensions leading to conflict and causing lots of time and money. To improve the communication of the drawings, this research purposed using building information modeling (BIM) along with augmented reality (AR) for the roof structure. The BIM+AR model of the roof structure was illustrated to the stakeholders then collected questionaires from 40 stakeholders to assess the correction, difficulty, and opportunities of BIM+AR model. These questionaires gain a good feedback .The first 3 obvious benefits are to help build understanding of the structural three-dimensional model. It can be used to improve communication efficiency and to support in planning the construction of the roof structure to be made easier, respectively. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การประยุกต์ใช้แบบจำลองสารสนเทศอาคารและความเป็นจริงเสริมในการเพิ่มประสิทธิภาพการก่อสร้างโครงหลังคา | en_US |
dc.title.alternative | Application of building information modeling and Augmented Reality to increase the efficiency of roof structure construction | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | หลังคา -- การออกแบบและการสร้าง | - |
thailis.controlvocab.thash | อาคาร -- แบบจำลอง | - |
thailis.controlvocab.thash | ความเป็นจริงเสริม | - |
thailis.controlvocab.thash | การก่อสร้าง -- การประมวลผลข้อมูล | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | เนื่องด้วยงานก่อสร้างของงานในส่วนของโครงหลังคาในรูปแบบเดิมนั้นได้รับมาใน รูปแบบ AutoCAD ซึ่งพบว่ามีอุปสรรคในการ ควบคุมงานก่อสร้าง การสื่อสาร การสั่งงาน การควบคุมงานและการตรวจงาน อันเกิดมาจากการ มองรูปแบบการติดตั้งแบบ 2 มิติ ซึ่งก่อให้เกิด ความคลาดเคลื่อนในการทำงาน เช่น ตำแหน่งของการเชื่อมโครงหลังคาที่เชื่อมต่อกันในจุดที่ซับซ้อน ระยะหรือตำแหน่งต่างๆ ในการติดตั้งโครงหลังคา จึงมีโอกาสสูงที่เมื่อดำเนินการติดตั้งแล้วตำแหน่ง ไม่ถูกต้อง และมีโอกาสขัดแย้งในงานส่วนอื่น ซึ่งเมื่อมีการปรับแก้ในภายหลัง จะก่อให้เกิดส่งผลเสีย ต่องานก่อสร้าง ทั้งด้านงบประมาณที่เพิ่มขึ้นและเวลาที่สูญเสียไป การศึกษานี้จึงได้นำแบบจำลอง สารสนเทศอาคาร ในการทำแบบจำลองสามมิติมาประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมในการ ถ่ายทอดให้เห็นแบบติดตั้งให้เหมือนของจริงและดำแเหน่งจริงของพื้นที่งานก่อสร้างจริง แล้วให้ผู้ที่มี ส่วนเกี่ยวข้องทำแบบทดสอบประเมินความพึงพอใจก่อนและหลังจำนวน 40 คน โดยเลือกแบบ เจาะจง ประเมินความถูกต้องของแบบติดตั้ง ความยุ่งยากในการใช้งาน แนวโน้มการไปใช้ในอนากต โดยได้รับผลตอบรับที่ดี โดยประโยชน์ที่เห็นได้ชัด 3 ลำดับแรก คือ ช่วยสร้างความเข้าใจ ในแบบจำลองสามมิติทางโครงสร้าง สามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสาร และช่วยในการ วางแผนงานก่อสร้างโครงหลังคาทำได้ง่ายมากยิ่งขึ้น ตามลำดับ | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630632102 เจตนิพัทธ์ ตะปานนท์.pdf | 1.55 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.