Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79337
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSa-nguansak Thanapornpoonpong-
dc.contributor.advisorKasemsak Uthaichana-
dc.contributor.advisorPornsiri Suebpongsung-
dc.contributor.authorKarn Chitsuthipakornen_US
dc.date.accessioned2023-12-13T09:50:37Z-
dc.date.available2023-12-13T09:50:37Z-
dc.date.issued2022-02-22-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79337-
dc.description.abstractPaddy rice cultivation plays an important role in the Thai economy. It is usually harvested at a moisture content of 18-28% (w.b.) and immediately dried to below 14% for safe storage. Paddy is dried with hot air (HA) at a temperature of (50 °C -80 °C) to achieve the shortest drying time. RF heat treatment, as a type of dielectric heating method. involves the generation of heat as a result of the interaction between an electromagnetic field and polarized molecules in the crops. The effect of various RF heating temperatures combined with hot air (HA/RF) (38, 42. 45, 46, 50, 55, and 60 °C) in an industrial-scale process compared with hot air drying (HA) was studied. The drying characteristics and the moisture diffusivity showed that the higher the combined RF heating temperature, the shorter the observed drying time. The specific energy consumption and energy cost decreased when the RF heating temperature increased. Although the HA/RF60 had the shortest drying time, the fissure percentage and milling quality data showed that the optimum conditions were HA/RF42. In addition. there were no significant differences in head rice yield and white rice color determination. amylose content, texture profiles, pasting properties, and sensory difference tests compared to HA. This study proposes the successful development of industrial-scale continuous flow drying machine using RF and HA for paddy rice and shows the great potential of RF technology for industrial-scale drying for the rice industry. Afterwards, the changes in milling and cooking qualities of milled rice after 2 months of drying by hot air combined with radio frequency heating at low temperatures (38 °C, 42 °C, 46 °C, and 50 °C) under ambient conditions were compared with hot air drying (HA). The fissures in white rice kernels significantly increased with an increase in RF heating temperature and storage period starting from month 1. The HRY of milled rice was without adverse effect after 2-months of storage. All color values were visualized as acceptable values. There was no change in the AC after storing. Regarding pasting properties, the rising of PV, BD, FV and reduction of SB and PT in paddy drying with hot air combined with RF heating beneficially increased the elongation ratio of cooked rice while the texture properties of cooked rice were not altered from fresh rice. Overall, it was proposed that the milling and cooking qualities of milled rice after being stored for 2 months are still in accordance with the qualities of fresh rice and rice dried by HA. Lastly, the financial analysis was studied. The NPV of HA and HA/RF42 on a commercial scale 5 ton/batch) showed positive values of 2,559, 131.11 and 3,830,801.49 Bahts, respectively. The NPV for industrial scale dying (450 kg batch) was negative because the amount of paddy rice to be dried in the dryer was too small. The IRR of the project after 10 years of HA and HA/RF42 at commercial scale had IRRs of 27.01% and 22.78%, respectively. The BCR of HA and HA/RF42 at commercial scale were 1.31, and 1.31, respectively. The PB of HA and HA/RF42 on a commercial scale was 3.36 and 3.83 years, respectively. It can be concluded that commercial-scale drying processes for paddy rice using hot air and hot air combined with radio frequency heating at 42°C are worth investing in.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleDevelopment of industrial scale continuous flow drying machine using radio frequency and hot air for Paddy riceen_US
dc.title.alternativeการพัฒนาเครื่องอบแบบลดความชื้นแบบไหลต่อเนื่องขนาดอุตสาหกรรมด้วยคลื่นวิทยุและลมร้อนสําหรับข้าวเปลือกen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshPaddy Rice -- Drying-
thailis.controlvocab.lcshRice -- Drying-
thailis.controlvocab.lcshPaddy Rice -- Harvesting-
thailis.controlvocab.lcshRice -- Moisture-
thailis.controlvocab.lcshRadio frequency-
thailis.controlvocab.lcshHeating-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractข้าวเป็นพืชที่มีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจของไทยมาอย่างยาวนาน ข้าวเปลือกจะถูกเก็บเกี่ยวที่ ความชื้นในช่วง 18 - 28 เปอร์เซ็นต์กระเปาะเปียก และนำไปอบลดความชื้นจนเหลือ 14% ทันทีเพื่อ เก็บรักษาให้มีคุณภาพการอบลดความชื้นด้วยลมร้อนที่อุณหภูมิ 50 - 80 องศาเซลเซียส การให้ความ ร้อนด้วยคลื่นความถี่วิทยุ (RF) เป็นเทคโนโลยีชนิดใหม่ เป็นวิธีการให้ความร้อน โดยอาศัยคุณสมบัติ ไดอิเล็คตริก ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างความร้อนจากผลของปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสนามแม่เหล็กไฟฟ้า กับโมเลกุลของธัญพืช การศึกษาอิทธิพลในการให้ความร้อนด้วยคลื่นความถี่วิทยุร่วมกับลมร้อนที่อุณหภูมิระดับต่างๆ (HA/RF) (38, 42, 45, 46, 50, 55 และ 60 องศาเซลเซียส) ในระดับอุตสาหกรรม เปรียบเทียบกับการลด ความชื้นด้วยลมร้อนเพียงอย่างเดียว (HA) พบว่าประสิทธิภาพการอบแห้งและอัตราการแพร่ของ ความชื้นในการให้ความร้อนด้วย RE ที่อุณหภูมิสูงขึ้นจะยิ่งทำให้เวลาในการอบแห้งลดลง ในด้าน ปริมาณของการใช้พลังงานจำเพาะและค่าใช้จ่ายพลังงานจำเพาะของการให้ความร้อนด้วย RF ร่วมกับ ลมร้อนพบว่า มีค่าลดลง เมื่อเทียบกับการใช้ลมร้อนเพียงอย่างเดียว แม้ว่าการให้ความร้อนด้วย RF ที่ HA/RF60 จะได้ผลของเวลาการอบแห้งที่สั้นที่สุดก็ตาม แต่เมื่อวิเคราะห์จากข้อมูลจำนวนเปอร์เซ็นต์ รอยร้าวในเมล็ดข้าวและคุณภาพการสีข้าวแล้วพบว่า สภาวะ HA/RF42 นั้นเปีนสภาวะที่เหมาะสม นอกจากนี้ การทดลองในทุกสภาวะไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญในสัดส่วนข้าวต้น สีของข้าว ขาว ปริมาณอะมิโลส คุณลักษณะเนื้อสัมผัส คุณสมบัติแป้ง และความแตกต่างทางประสาทสัมผัสใน ข้าวหุงสุก ในทุกสภาวะที่ศึกษาเมื่อเปรียบเทียบกับ HA ในการศึกษานี้สรุปได้ว่าการพัฒนาเครื่องอบ แบบลดความชื้นแบบไหลต่อเนื่องขนาคอุตสาหกรรมด้วยคลื่นวิทยุและลมร้อนสำหรับข้าวเปลือก ประสบผลสำเร็จ และได้แสดงถึงศักยภาพของการนำเทคโนโลยี RF ไปใช้ในอุตสาหกรรมสีข้าว หลังจากนั้น จึงได้มีการเก็บตัวอย่างข้าวเปลือกที่ผ่านการอบลดความชื้นด้วยคลื่นความถี่วิทยุ ร่วมกับลมร้อนที่อุณหภูมิระดับต่ำ (HA/RF) (38, 42, 46 และ 50 องศาเซลเซียส) เป็นเวลา 2 เดือน เปรียบเทียบกับการลดความชื้นด้วยลมร้อนเพียงอย่างเดียว (HA) ในสภาพแวดล้อมปกติ จากข้อมูล จำนวนเปอร์เซ็นต์รอยร้าวในเมล็ดข้าวขาวพบว่ามีการเพิ่มขึ้นตามอุณหภูมิของ RF ตั้งแต่ 1 เดือน ใน ด้านของสัดส่วนข้าวต้น พบว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลงที่แย่ลงหลังจากเก็บไว้นาน 2 เดือน ค่าการตรวจวัด สีของข้าวขาวอยู่ในระดับยอมรับได้ และไม่มีการเปลี่ยนแปลงในปริมาณอะมิโลสหลังจากเก็บรักษา ในด้านคุณสมบัติของแป้งพบว่า ระหว่างการเก็บรักษาข้าวเปลือกเป็นเวลา 2 เดือน การเพิ่มขึ้นของ ความหนืดสูงสุด (PV), เบรกดาวน์ (BD), ความหนืดสุดท้าย (FV) และการลดลงของเซตแบ็ค (SB), และอุณหภูมิเกิดเจลาดิไนซ์ (PT) ทำให้เมล็ดข้าวหุงสุกมีสัดส่วนการยืดตัว (ER) สูงขึ้น ในขณะที่ คุณสมบัติทางเนื้อสัมผัสไม่มีความเปลี่ยนแปลงไปจากข้าวใหม่ที่เพิ่งอบแห้งเสร็จ (เดือน 0) โดยสรุป แล้ว คุณภาพการขัดสีและคุณภาพการหุงของข้าวหลังจากการอบแห้งด้วยสภาวะด่างๆและเก็บรักษา เป็นเวลา 2 เดือน ยังมีความสอดคล้องกับคุณภาพของข้าวที่เพิ่งอบแห้งเสร็จจากสภาวะ HA การวิเคราะห์ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของโครงกงาร พบว่า มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) ของ สภาวะ HA และ HA/RF42 ในการอบแห้งระดับเชิงพาณิชย์ (5 ตันต่อรอบ) มีค่าเท่ากับ 2,559,131.11 และ 3,830,801.49 บาท ตามลำคับ ทว่า NPV ของระดับอุตสาหกรรม (450 กิโลกรัมต่อรอบ) มีค่าลบ เนื่องจากปริมาณข้าวเปลือกที่นำมาอบแห้งนั้นมีจำนวนน้อยเกินไป ในด้นอัตราผลตอบแทนภายใน (IRR) ของโครงการใน 10 ปี ของ HA และ HARF42 ระดับเชิงพาณิชย์ มีค่าเท่ากับ 27.01% และ 22.78% ตามลำดับ ในด้านอัตราส่วนผลประโยชน์ต่อต้นทุนของ HA และ HA/RF42 ในระดับเชิง พาณิชย์ ได้แก่ 1.31 และ 1.31 ตามลำดับ และระยะเวลาคืนทุนของระดับเชิงพาณิชย์ มีค่าเท่ากับ 3.36 ปี ใน HA และ 3.83 ปีใน HA/RF42 จึงสรุปได้ว่าการอบลดความชื้นข้าวเปลือกด้วยลมร้อนและคลื่น ความถี่วิทยุที่ HA/RF42 ในระดับเชิงพาณิชย์มีความคุ้มค่าในการลงทุนและสามารถนำไปริเริ่มใช้ใน การอบแห้งข้าวเปลือกในระดับอุตสาหกรรมโรงสีข้าวต่อไปen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590851016 กานต์ จิตสุทธิภากร.pdf9.76 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.