Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79323
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพีรพล จิราพงศ์-
dc.contributor.authorสุพนิฎา แก้ววงศ์en_US
dc.date.accessioned2023-12-12T16:47:05Z-
dc.date.available2023-12-12T16:47:05Z-
dc.date.issued2565-05-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79323-
dc.description.abstractDesigning and analyzing a net-zero energy building (NZEB) integrated with multiple energy sources to reduce annual energy costs and promote renewable energy utilization is a complicated work process. This research proposes a new design methodology for NZEB that utilizes the energy sources from electricity grids, photovoltaic (PV), and battery energy storage systems. The design algorithm is divided into five steps: building data collection, energy management, optimum PV and battery sizing, energy analysis, and financial evaluation. NZEB energy analysis is performed using the building's data and the design energy sources to determine the net annual energy value conducted with PVsyst software. The proposed approach is applied to renovate a four-floor university building with an area of 2,248 sq.m., which is used as a case study. The comparative studies and simulation results show that the proposed method provides optimal PV and battery sizes to effectively transform the conventional building into NZEB in both on-grid and off-grid connections.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectอาคารพลังงานสุทธิเป็นศูนย์en_US
dc.titleอาคารพลังงานสุทธิเป็นศูนย์สำหรับอาคารสำนักงานที่มีแหล่งพลังงานแบบผสมผสานen_US
dc.title.alternativeNet-zero energy building for office buildings with hybrid energy sourcesen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashอาคารพลังงานแสงอาทิตย์-
thailis.controlvocab.thashอาคาร -- การออกแบบและการสร้าง-
thailis.controlvocab.thashพลังงานทดแทน-
thailis.controlvocab.thashแหล่งพลังงานทดแทน-
thailis.controlvocab.thashการจ่ายพลังงานไฟฟ้า-
thailis.controlvocab.thashการผลิตพลังงานไฟฟ้า-
thailis.controlvocab.thashพลังงานไฟฟ้า -- แบตเตอรี่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการออกแบบและวิเคราะห์อาคารพลังงานสุทธิเป็นศูนย์ที่ผสานรวมกับแหล่งพลังงานแบบผสมผสาน เพื่อลดต้นทุนด้านพลังงานประจำปี และส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนซึ่งเป็นกระบวนการทำงานที่ ซับซ้อน เอกสารนี้เสนอวิธีการออกแบบใหม่สำหรับปรับอาคารเดิมสู่อาคารพลังงานสุทธิเป็นศูนย์ที่ ใช้แหล่งพลังงานจากการเชื่อมต่อโครงข่ายไฟฟ้า การบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า จากพลังงานแสงอาทิตย์ และระบบกักเก็บพลังงานสำรองด้วยแบตเตอรี่ ระเบียบวิธีการออกแบบแบ่ง ออกเป็นห้าขั้นตอน คือ การเก็บรวบรวมข้อมูลอาคาร การบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้า การออกแบบ ขนาดระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ และ ระบบกักเก็บพลังงานสำรองด้วยแบตเตอรี่ที่ เหมาะสมกับอาคาร การวิเคราะห์พลังงาน และการประเมินทางเศรษฐศาสตร์ การวิเคราะห์พลังงาน อาคารพลังงาน สุทธิเป็นศูนย์ดำเนินการ โคยใช้ข้อมูลของอาคารและแหล่งพลังงาน ที่ออกแบบเพื่อ กำหนดมูลค่าพลังงานสุทธิประจำปีที่ดำเนินการด้วยโปรแกรม PVsyst แนวทางที่เสนอนี้นำไปใช้ใน การปรับปรุงอาคารมหาวิทยาลัย 4 ชั้นที่มีพื้นที่ 2,248 ตร.ม. ซึ่งใช้เป็นกรณีศึกษา การศึกษา เปรียบเทียบและผลการจำลองแสดงให้เห็นว่าวิธีการที่เสนอให้ขนาคระบบผลิตไฟฟ้าที่เหมาะสมที่สุด เพื่อเปลี่ยนอาคารทั่วไปให้เป็นอาคารพลังงานสุทธิเป็นศูนย์ อย่างมีประสิทธิภาพในการเชื่อมต่อทั้ง แบบการเชื่อมต่อและไม่เชื่อมต่อโครงข่ายไฟฟ้าen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630631023 สุพนิฎา แก้ววงศ์.pdf6.54 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.