Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79286
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยวุฒิ ตั้งสมชัย-
dc.contributor.authorณพงศ์เดช ศรีแก้วen_US
dc.date.accessioned2023-12-11T16:49:10Z-
dc.date.available2023-12-11T16:49:10Z-
dc.date.issued2566-11-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79286-
dc.description.abstractThis study aimed to investigate the factors that affected to success of rice production community enterprises in Surin Province. The sample group were 15 members of the community enterprises including the community enterprise President, Vice-President and committee members from five different community enterprises, including Ton Kla Praeroob Sinkha Kaset, Kaset Tenmee Naew Mai Withee Surin, Kaset Trisadee Mai, Setthakit Porpeang Ban Samet Noi and Kaset Insee Tumbon Burusi. The data were collected and analyzed by using the secondary data of community enterprise, their activities, semi-structure interview with open-ended questions and on-site observation. This study revealed that among these five community enterprises of rice production in Surin province, with all of 15 members, 8 of the members were male while 7 of the members were female. The age range of the member was 35-66 years old. The majority of members hold positions such as President, Vice-President, treasurer, secretary, and committee member within the community enterprises. The occupation of most members was in agriculture, with diverse educational backgrounds from secondary, bachelor's degree to master's degree. According to the potential of community enterprises, the analysis using the SWOT model identified the strengths as loyal customers, cultivation of organic jasmine rice that complied with export standards, and innovative production. The weaknesses were the limitation of the irrigation system and insufficient production. Opportunities were the continuously high demand of both domestic and international consumers. Lastly, the threats were export barriers, labor shortages and a lack of knowledge in organic agriculture. By applying the TOWS Matrix analysis model, this study revealed that the production of high-quality organic rice aligned with export standards was in line with the continuously high and growing market demand, both domestically and internationally. By analyzing the business environment using the PESTEL framework, positive factors were identified in politics, technology, regulations, and the environment. Examining the competitive potential of the enterprises using the 5 Forces Model, positive driving forces included the optimal geographical location for producing the best jasmine rice was limited. In addition, the community enterprise management showed that operational management which involved evaluating the organization's capacity in terms of structure was an important factor in preparing for future challenges and obstacles. In terms of operational management, utilizing the PDCA model showed that inventory management and breakeven analysis were effectively and efficiently employed for inventory management. Moreover, the study also emphasized the importance of listening to suggestions and opinions from community members to continuously improve and enhance performance. In terms of sustainability, it was showed that there was a clear environmental policy with a responsibility towards the environment, society, and governance of the community enterprise. This involved operational processes within the enterprise to address potential issues and to restore the natural environment affected by the activities of the enterprise, to establish a fair and equitable human resource management policy, to promote continuous development of employees and to provide opportunities for sustainable growth within the community.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectวิสาหกิจชุมชนผลิตข้าวen_US
dc.subjectRice Productionen_US
dc.subjectCommunity Enterprisesen_US
dc.subjectSurinen_US
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของวิสาหกิจชุมชนผลิตข้าวในจังหวัดสุรินทร์en_US
dc.title.alternativeFactors contributing to success of rice production community enterprises in Surin Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashข้าว -- การผลิต-
thailis.controlvocab.thashวิสาหกิจชุมชน -- สุรินทร์-
thailis.controlvocab.thashวิสาหกิจชุมชน -- การตลาด-
thailis.controlvocab.thashความสำเร็จ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของวิสาหกิจชุมชนผลิตข้าว ในจังหวัดสุรินทร์ โดยทำการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นสมาชิกในกลุ่มวิสาหกิจชุมชนตำแหน่งประธานวิสาหกิจชุมชน รองประธานวิสาหกิจชุมชน และกรรมการวิสาหกิจชุมชน อันประกอบไปด้วยวิสาหกิจชุมชนต้นกล้าแปรรูปสินค้าเกษตร วิสาหกิจชุมชนเกษตรเทนมีย์แนวใหม่วิถีสุรินทร์ วิสาหกิจชุมชนเกษตรทฤษฎีใหม่ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเศรษฐกิจพอเพียงบ้านเสม็ดน้อย และวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์ตำบลบุฤาษี รวมทั้งสิ้นจำนวน 15 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นการศึกษาข้อมูลทุติยภูมิการดำเนินงานของวิสาหกิจและทำการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง โดยใช้รูปแบบคำถามปลายเปิดและมีการสังเกตการณ์สมาชิกวิสาหกิจชุมชน ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของวิสาหกิจชุมชนผลิตข้าว ในจังหวัดสุรินทร์ทั้ง 5 กลุ่ม มีข้อมูลพื้นฐานทั่วไปของผู้ให้สัมภาษณ์คือเป็นเพศชาย จำนวน 8 คน เพศหญิง จำนวน 7 คน อายุระหว่าง 35 – 66 ปี ตำแหน่งประธานวิสาหกิจชุมชน รองประธาน เหรัญญิก เลขานุการ และกรรมการ มีการศึกษาอยู่ในระดับมัธยมปลาย ปวช. ปวส. ปริญญาตรี และสูงสุดระดับปริญญาโท ประกอบอาชีพหลัก คือ เกษตรกร ด้านศักยภาพของวิสาหกิจชุมชน ตามแนวคิดการวิเคราะห์ศักยภาพธุรกิจโดยใช้แบบวิเคราะห์ SWOT พบว่าจุดแข็งคือ มีลูกค้าประจำมีกระบวนการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ที่ได้มาตรฐานส่งออก และมีการใช้นวัตรกรรมการผลิต จุดอ่อน คือ ระบบชลประทานที่ไม่ทั่วถึง กำลังผลิตไม่เพียงพอ โอกาส คือ ความต้องการของผู้บริโภคยังมีปริมาณเพิ่มขึ้นทั้งในและต่างประเทศ อุปสรรค คือ การกีดกันทางการส่งออก การขาดแคลนแรงงาน และองค์ความรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ การเลือกใช้กลยุทธ์ตามสถานการณ์แบบ TOWS Matrix พบว่า การผลิตข้าวอินทรีย์ที่ได้คุณภาพมาตรฐานส่งออก สอดคล้องกับความต้องการของตลาดสูงและเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ตามแนวคิดการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมธุรกิจโดยใช้แบบวิเคราะห์ PESTEL พบว่า สิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนคือ ด้านการเมือง ด้านเทคโนโลยี ด้านกฎระเบียบ และด้านสิ่งแวดล้อม ตามแนวคิดการประเมิณแนวคิดด้านการวิเคราะห์ศักยภาพในการแข่งขัน โดยใช้แนวคิดแบบจำลองแรงผลักดัน 5 ประการ พบว่า จุดภูมิศาสตร์ด้านการผลิตข้าวหอมมะลิที่ดีที่สุดอยู่ในพื้นที่จำกัด ด้านการบริหารวิสาหกิจชุมชน พบว่า แนวคิดการจัดการการปฏิบัติการ มีวิธีการเตรียมความพร้อมในการประเมินศักยภาพขององค์กรในด้านของโครงสร้างองค์กร ปัจจัยที่จะสามารถเข้ามาทดแทนผลิตภัณฑ์ของกลุ่มวิสาหกิจ เพื่อที่จะสามารถตั้งรับต่อปัญหาและอุปสรรคที่คาดว่าจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต กระบวนการบริหารงานคุณภาพในรูปแบบ PDCA การบริหารสินค้าคงคลัง และการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน เพื่อที่จะสามารถบริหารจัดการสินค้าคงคลังได้อย่างคุ้มค่า มีการรับฟังถึงข้อเสนอแนะ และความคิดเห็นของคนในชุมชน เพื่อนำมาพัฒนาปรับปรุงและแก้ไขให้เกิดประสิทธิภาพได้อย่างสูงสุด ด้านความยั่งยืน พบว่า มีการกำหนดนโยบายกับสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจน โดยมีความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และบรรษัทภิบาลของวิสาหกิจชุมชน คือมีกระบวนการทำงานในวิสาหกิจเพื่อจัดการกับปัญหาที่อาจเกิดขึ้น และมีการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่ได้รับผลกระทบจากการดำเนินธุรกิจของวิสาหกิจ กำหนดนโยบายบริหารทรัพยากรบุคคลอย่างเป็นธรรมและเท่าเทียมกัน มีการส่งเสริมพัฒนาพนักงานอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งเปิดโอกาสให้ชุมชนที่วิสาหกิจชุมชนมีความเกี่ยวข้องให้เติบโตได้อย่างยั่งยืนen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ณพงศ์เดช ศรีแก้ว -641532070.pdf6.01 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.