Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79285
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรัญญา กันตะบุตร-
dc.contributor.authorวีรินทร์รัตน์ ผัดวังen_US
dc.date.accessioned2023-12-11T16:45:26Z-
dc.date.available2023-12-11T16:45:26Z-
dc.date.issued2566-11-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79285-
dc.description.abstractThe purpose of this independent study was to study behavior of consumers in Mueang Chiang Mai district towards buying medical equipment for the elderly. Two-hundred samples who have purchased medical equipment for the elderly within a year were asked to complete the questionnaire. The data was analyzed using descriptive statistics including frequency, percentage and mean. The inferential statistics as T-test and one-way ANOVA were used to compare mean of marketing mix categorized by gender and income. The results showed that majority of respondents were married female. Most had educational background of bachelor's degree and worked as government official, government employee and state enterprise employee. The majority earned a monthly income ranged from 20,001-30,000 bath. The most purchased medical equipment for the elderly was a blood pressure monitor. The reason toward buying was to care for the health of family members and based their purchase decisions on product quality. Family members played a significant role in assisting with the purchase decisions and accompanied with the purchasing process. The respondents preferred to buy the equipment from drug stores, typically between 17.01-20.00 p.m., without specific day during a week. The frequency of purchasing was less than once a  year and  the expense was around 1,001-2,000 baht each time. Medical staff had the most significant influence on their decision to buy.  The marketing mix factors influencing the elderly's medical equipment purchase decisions were at high level. Key sub-factors include product safety, appropriate pricing for quality, clear product details and photos for online purchase channels, and good service from store employee. In addition, the marketing mix that affected the decision to purchase medical equipment for the elderly did not different by gender but showed income-related differences in some sub-factors of the marketing mix in the aspects of product, price and promotion at the significance level of 0.05.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคen_US
dc.subjectอุปกรณ์การแพทย์en_US
dc.subjectผู้สูงอายุen_US
dc.subjectเมืองเชียงใหม่en_US
dc.titleพฤติกรรมผู้บริโภคในอำเภอเมืองเชียงใหม่ต่อการซื้ออุปกรณ์การแพทย์สำหรับผู้สูงอายุen_US
dc.title.alternativeBehavior of consumers in Mueang Chiang Mai District towards buying medical equipment for the elderlyen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการเลือกซื้อสินค้า-
thailis.controlvocab.thashการแพทย์ -- เครื่องมือและอุปกรณ์-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ -- การดูแล-
thailis.controlvocab.thashวิจัยการตลาด-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคในอำเภอเมืองเชียงใหม่ต่อการซื้ออุปกรณ์การแพทย์สำหรับผู้สูงอายุ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ที่อาศัยหรือทำงานในอำเภอเมืองเชียงใหม่ ที่เคยซื้ออุปกรณ์การแพทย์สำหรับผู้สูงอายุภายในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี จำนวน 200 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย รวมทั้งใช้สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ T-test และ one-way ANOVA เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระดับการมีผลจำแนกตามเพศและรายได้ ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง สถานภาพสมรส การศึกษาระดับปริญญาตรี อาชีพข้าราชการ/พนักงานของรัฐ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ รายได้ต่อเดือน 20,001-30,000 บาท อุปกรณ์การแพทย์สำหรับผู้สูงอายุที่ซื้อคือ เครื่องวัดความดัน โดยมีเหตุผลในการซื้อคือ เพื่อใช้ดูแลสุขภาพคนในครอบครัว พิจารณาเลือกซื้อจากคุณภาพของสินค้าเป็นหลัก ผู้ที่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจซื้อคือ คนในครอบครัว และไปซื้อกับคนในครอบครัว ส่วนใหญ่ซื้อในร้านขายยา มีวันที่ซื้อไม่แน่นอน ซื้อตามความสะดวก ในช่วงเวลา 17.01-20.00 น. ค่าใช้จ่ายในการซื้อแต่ละครั้งคือ 1,001-2,000 บาท ความถี่ในการซื้อน้อยกว่า 1 ครั้ง/ปี และบุคลากรการแพทย์มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อมากที่สุด ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อการซื้ออุปกรณ์การแพทย์สำหรับผู้สูงอายุของผู้ตอบแบบสอบถามอยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยย่อยที่มีผลต่อการซื้อสูงสุดด้านผลิตภัณฑ์ คือ ผลิตภัณฑ์มีความปลอดภัย ด้านราคา คือ ราคาเหมาะสมกับคุณภาพ ด้านการจัดจำหน่าย คือ มีรายละเอียดและภาพถ่ายสินค้าที่ชัดเจนในกรณีจำหน่ายผ่านช่องทางออนไลน์ และด้านการส่งเสริมการตลาด คือ พนักงานร้านมีการบริการที่ดี นอกจากนี้ ส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อการซื้ออุปกรณ์การแพทย์สำหรับผู้สูงอายุของผู้ตอบแบบสอบถามไม่แตกต่างกันตามเพศ แต่แตกต่างกันตามรายได้ในบางปัจจัยย่อยของส่วนประสมการตลาดด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา และด้านการส่งเสริมการตลาด ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.