Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79284
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปิยพรรณ กลั่นกลิ่น | - |
dc.contributor.author | หทัยภัทร อ่อนสุ่น | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-12-11T16:38:23Z | - |
dc.date.available | 2023-12-11T16:38:23Z | - |
dc.date.issued | 2566-10-31 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79284 | - |
dc.description.abstract | The objective of this independent study to behavior of consumer towards purchasing residential interior decorative plants via online channels. data were collected by online questionnaire from 400 persons. data were analyzed by descriptive statistics consist of frequency, percentage, mean and inferential statistics consist of chi-square and t-test.The results found that most of the respondents were female, aged 31-40 years old with the highest education is bachelor’s degree, Marital status, private sector employee, salary 10,001-20,000 baht. they mostly bought indoor plants for residential interior decorative such as Monstera, Zanzibar Gem. They bought Plants about 2-3 months per time with average expenses 300-399 baht per time. The opportunity to purchase arises when you find a plants at a reasonable price, not overly expensive and they bought via Facebook such as We plant, easy plant and reason of buying it through online channels was compare price. the objective of plants buying were to decorate and increase the green space within residential interior. The person who influenced purchasing decisions were salesperson/shop owner/admin. study the information and identify the types of plants by themselves. Which includes approximately 5-10 plants purchased through online channels. When testing the relationships using Chi-square statistics, it was found that consumers behavior in purchasing plants is related to residential, namely the reason for purchasing plants, popular plants to purchased and the number of plants purchased. Additionally, when testing the differences with a t-test between the level of opinions of horizontal residential and vertical residential on online marketing mix factors, it was found that the marketing mix; product, price, place, promotion and personalization significantly differences but privacy factors no differences. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | พฤติกรรมของผู้บริโภคในการซื้อต้นไม้สำหรับตกแต่งภายในที่อยู่อาศัยผ่านช่องทางออนไลน์ | en_US |
dc.title.alternative | Behavior of consumer towards purchasing residential interior decorative plants via online channels | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | พฤติกรรมผู้บริโภค | - |
thailis.controlvocab.thash | ต้นไม้ -- การจัดซื้อ | - |
thailis.controlvocab.thash | ต้นไม้ -- การตลาด | - |
thailis.controlvocab.thash | การตกแต่งภายใน | - |
thailis.controlvocab.thash | การเลือกซื้อสินค้า | - |
thailis.controlvocab.thash | การตลาดอินเทอร์เน็ต | - |
thailis.controlvocab.thash | การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภคในการซื้อต้นไม้สำหรับตกแต่งภายในที่อยู่อาศัยผ่านช่องทางออนไลน์ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามออนไลน์และศึกษาจากผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และใช้สถิติเชิงอนุมาน ประกอบด้วยไคสแควร์และ t-test ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 31-40 ปี ระดับการศึกษาสูงสุดปริญญาตรี สถานภาพสมรส เป็นพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,001- 20,000 บาท และส่วนใหญ่ซื้อต้นไม้ประเภทไม้ในร่ม (Indoor Plants) ใช้ตกแต่งภายในอาคาร เช่น มอนสเตอร่า, กวักมรกต ซื้อต้นไม้ 2 - 3 เดือนต่อครั้ง ใช้เงินประมาณ 300-399 บาท มีโอกาสซื้อเมื่อพบต้นไม้ที่มีราคาเหมาะสม ไม่แพงเกินไป และซื้อต้นไม้ผ่านช่องทางออนไลน์ Facebook เช่น We plant, easy plant เหตุผลคือ เปรียบเทียบราคาได้หลายร้าน มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ตกแต่งและเพิ่มพื้นที่สีเขียวในที่อยู่อาศัย ผู้ที่มีอิทธิพลในการซื้อคือ พนักงานขาย/เจ้าของร้าน/แอดมินเพจ โดยศึกษาข้อมูลและระบุชื่อต้นไม้ที่ต้องการซื้อด้วยตนเอง มีต้นไม้ประมาณ 5-10 ต้นที่ซื้อผ่านระบบออนไลน์ โดยเมื่อทดสอบความสัมพันธ์ด้วยค่าสถิติไคสแควร์ พบว่า พฤติกรรมของผู้บริโภคในการซื้อต้นไม้ที่มีความสัมพันธ์กับลักษณะที่อยู่อาศัย คือ เหตุผลที่ซื้อต้นไม้ ต้นไม้ที่นิยมซื้อและจำนวนต้นไม้ที่ซื้อ เมื่อทดสอบความแตกต่างด้วย t-test ระหว่างระดับความคิดเห็นของกลุ่มผู้อยู่อาศัยแนวราบและกลุ่มผู้อยู่อาศัยแนวดิ่งต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดออนไลน์ พบว่า ปัจจัยหลักด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านการให้บริการส่วนบุคคล แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ แต่ปัจจัยด้านการรักษาความเป็นส่วนตัว ไม่แตกต่างกัน | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631532128-หทัยภัทร อ่อนสุ่น.pdf | 1.26 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.