Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79270
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิชญลักษณ์ พิชญกุล-
dc.contributor.authorสุภณิดา คำมะen_US
dc.date.accessioned2023-12-07T10:23:38Z-
dc.date.available2023-12-07T10:23:38Z-
dc.date.issued2023-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79270-
dc.description.abstractThis study aims to explore the supply chain management of a pomelo packing house in Wiang Kaen District, Chiang Rai Province, by analyzing the supply chain operations reference model (SCOR Model). The objective is to provide recommendations for improving the supply chain management of the pomelo packing house. Data were collected through interviews with three large-scale pomelo packing house operators who export their packaged pomelos overseas in Wiang Kaen District, Chiang Rai Province. The data collection methods included non-participatory observation and in-depth interviews, all framed within the context of the SCOR Model, which encompasses planning, source, make, delivery, and return. The findings reveal that the supply chain of the pomelo packing house consists of three parts: The upstream segment, which comprises pomelo farmers within the Wiang Kaen District. The midstream segment, consisting of packing house operators responsible for collecting pomelos. The downstream segment, including customers who purchase pomelos. The analysis of the pomelo packing house's supply chain, following the Supply Chain Operations Reference Model (SCOR Model), yielded the following results: Planning: It was found that entrepreneurs engage in both short-term and long-term planning. There is an operational plan for pomelo procurement. Effective packing house management ensures smooth operations within the facility and provides guidance to farmers for crop planning, reducing the issue of oversupply of pomelos in the market. Source: the pomelo packing house procures pomelos from both certified GAP (Good Agricultural Practices) farmers and general farmers. Make: the pomelo packing house prepares pomelos before delivery by conducting grading, weighing, packaging, and storage processes. Delivery: pomelos are sent both domestically and internationally. For international shipments, packing house operators must have the necessary documentation, which includes GAP certification, pesticide residue inspection certificates, GMP certification, and essential factory registration documents. The pomelo packing house utilizes trucks for transporting the pomelos. Return: only one packing house encountered issues that led to customer returns. The problems identified included pomelos not meeting the desired taste quality according to customer expectations, accounting for approximately 10% of the total orders in that cycle. Additionally, a significant portion, ranging from 50% to 90% of the boxes, contained rotten pomelos upon reaching the customers. The researcher has provided recommendations for the fruit packing house operators. Firstly, there should be an analysis of the packing house operations according to the Supply Chain Operations Reference Model (SCOR Model). This analysis will help identify both problems and opportunities within the packing house's operations. Secondly, there should be a plan in place to address customer product returns. Thirdly, there should be clear and diverse performance indicators (KPIs) established. These recommendations aim to enhance the overall efficiency and effectiveness of the packing house's operations.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการโซ่อุปทานของโรงคัดบรรจุส้มโอ อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativeSupply chain management of pomelo packing house in Wiang Kaen District, Chiang Rai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการบริหารงานโลจิสติกส์-
thailis.controlvocab.thashส้มโอ -- เวียงแก่น (เชียงราย)-
thailis.controlvocab.thashการขนส่งสินค้า-
thailis.controlvocab.thashการควบคุมสินค้าคงคลัง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการโซ่อุปทานของโรงคัดบรรจุส้มโอ อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย เพื่อให้ข้อเสนอแนะแก่โรงคัดบรรจุส้มโอ ในการปรับปรุงการจัดการโซ่อุปทาน โดยได้เก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการโรงคัดบรรจุส้มโอในอำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย 3 ท่าน ที่เป็นโรงคัดบรรจุขนาดใหญ่และผลิตส้มโอบรรจุกล่องส่งออกไปต่างประเทศ โดยเก็บข้อมูลจากการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมและการใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึก โดยอ้างอิงจากแนวคิดแบบจำลองอ้างอิงการดำเนินงานโซ่อุปทาน (SCOR Model) ที่เป็นแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการโซ่อุปทาน ซึ่งประกอบไปด้วย การวางแผน การจัดหาวัตถุดิบ การผลิต การส่งมอบ และการส่งคืน ผลการศึกษาพบว่าโซ่อุปทานของโรงคัดบรรจุส้มโอ ประกอบไปด้วย 3 ส่วนได้แก่ 1.ส่วนต้นน้ำ คือ เกษตรกรผู้ปลูกส้มโอภายในอำเภอเวียงแก่น 2.ส่วนกลางน้ำ คือ ผู้ประกอบการ โรงคัดบรรจุ ที่ทำหน้าที่รวบรวมส้มโอ และ 3.ส่วนปลายน้ำ คือ ลูกค้า ที่รับซื้อส้มโอ ผลการวิเคราะห์โซ่อุปทานโรงคัดบรรจุส้มโอตามแบบจำลองอ้างอิงการดำเนินงานโซ่อุปทาน (SCOR Model) มีผลการวิเคราะห์ดังนี้ 1.การวางแผน พบว่า ผู้ประกอบการมีการวางแผนทั้งแผนในระยะสั้นและ ระยะยาว มีการวางแผนการดำเนินงานในเรื่องการรับซื้อส้มโอ การจัดการโรงคัดบรรจุ ซึ่งทำให้การทำงานภายในโรงคัดบรรจุเป็นไปอย่างราบรื่น และช่วยแนะนำเกษตรกรในการวางแผนการเพาะปลูก เพื่อลดปัญหาส้มโอล้นตลาด 2.การจัดหาวัตถุดิบ ทางโรงคัดบรรจุรับซื้อส้มโอจากเกษตรกร ที่มีใบรับรองGAP และเกษตรกรทั่วไป 3.การผลิต ทางโรงคัดบรรจุมีการเตรียมส้มโอก่อนการส่งมอบ โดยทำการคัดเกรด ชั่งน้ำหนัก บรรจุ และจัดเก็บ 4.การส่งมอบพบว่ามีการส่งส้มโอไปทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ การส่งส้มโอบรรจุกล่องไปต่างประเทศผู้ประกอบการต้องมีเอกสาร ซึ่งประกอบไปด้วย ใบรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) ใบตรวจสอบสารพิษตกค้าง ใบรับรอง GMP และหนังสือสำคัญแสดงการขึ้นทะเบียนโรงงานผลิตพืช ทางโรงคัดบรรจุ ใช้รถบรรทุกในการขนส่งส้มโอ 5.การส่งสินค้ากลับคืน พบว่ามีเพียงโรงคัดบรรจุ 1 โรงที่พบปัญหาทำให้ลูกค้าขอคืนสินค้า โดยปัญหาที่พบคือ รสชาติส้มโอไม่ได้คุณภาพตามที่ลูกค้าต้องการคิดเป็นร้อยละ 10 ของรอบการสั่งซื้อทั้งหมด และพบส้มโอเน่าเมื่อส้มโอไปถึงมือลูกค้าคิดเป็นร้อยละ 50-90 ของกล่องในรอบการสั่งซื้อรอบนั้น ผู้ศึกษาได้ให้ข้อเสนอแนะต่อผู้ประกอบการธุรกิจโรงคัดบรรจุผลไม้ ประการแรก ควรมีการวิเคราะห์โรงคัดบรรจุตามแนวความคิดแบบจำลองอ้างอิงการดำเนินงาน (SCOR Model) เพื่อทำให้เห็นถึงปัญหาและโอกาสในการดำเนินงานของโรงคัดบรรจุ ประการที่สอง ควรมีแผนการรับมือการขอคืนสินค้าของลูกค้า ประการที่สาม ควรมีตัวกำหนดตัวชี้วัดที่ชัดเจน และหลากหลายen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641532116_สุภณิดา_คำมะ.pdf4.02 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.