Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79253
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorJirakrit Leelarungrayub-
dc.contributor.advisorSurapol Natakankitkul-
dc.contributor.advisorJakkrit Klaphajone-
dc.contributor.authorJynwara Kajuen_US
dc.date.accessioned2023-12-04T17:24:06Z-
dc.date.available2023-12-04T17:24:06Z-
dc.date.issued2023-09-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79253-
dc.description.abstractStar fruit (Averrhoa carambola L.) is a seasonal fruit found in Thailand that contains antioxidative compounds, such as phenolics, saponins, flavonoid C-glycosides, tannin, and L-ascorbic acid (Vitamin C), especially sour type. In Thailand, there is also a sweet-type of star fruit (SF) that is popularly grown and sold in the market, yet it remains uncharted in terms of reported or researched in terms of comparing the differences between the two types of SF. Therefore, this study has the objective (1) to study the active compounds and anti-oxidant activity in sweet- and sour-type SF extracts in vitro and (2) to evaluate the antioxidant activity and physical capacity of elderly individuals through the combined supplementation of a sweet-type SF and honey product, along with a home-walking exercise. The study is focused on evaluating the amount of various active compounds including total phenolics, total flavonoids, and Vitamin C (Vit C), anti-free radicals, and anti-oxidant activities between two types of SF. Subsequently, the sweet SF was developed into an industrial pilot model of SF juice mixed with honey, in order to investigate its effectiveness among elderly participants, with an average age range of 60 to 70 years. The study is divided into four groups: the supplement and walking exercise group (S+WG) (n = 11) was compared with the supplement group (SG) (n = 11), the walking exercise group (WG) (n = 12), and the control group (CG) (n = 12). The dosage of the supplement was designed at 20 g in 150 mL of warm water which was administered twice daily for 4 weeks. Whereas exercise was a prescribed moderate-intensity walking exercise for 30 minutes, 3 days per week. Before and after the 4-week trial, blood oxidative stress status such as glutathione (GSH), Vit C, total antioxidant capacity (TAC), malondialdehyde (MDA), and 6-minute walking distance (6MWD) were assessed. The findings indicated that the sour-type SF extract exhibited elevated levels of total phenolics, total flavonoids, and Vit C compared to the sweet-type, as well as scavenging activity on 2,2-diphenyl-1-picrylhydrazyl (DPPH) and nitric oxide (NO). However, sweet-type SF showed higher activity in scavenging the 2,2'-azino-bis (3-ethylbenzthiazoline-6-sulphonic acid) (ABTS˚+). Moreover, the sweet-type SF displayed superior protective effects against the oxidation of GSH, protein carbonyl, and lipid peroxide formation. Conversely, higher doses of sour-type SF extract triggered pro-oxidant activity by escalating GSH oxidation, protein carbonyl, and lipid peroxide formation in vitro with dose-response. For the study involved elderly participants in four groups, notable differences became evident following the 4-week intervention. In the WG, GSH and Vit C levels decreased, while TAC, MDA, and 6MWD significantly increased when compared to baseline measurements. The SG resulted in elevated plasma Vit C and TAC levels, as well as a reduction in MDA levels, with no significant changes in GSH and 6MWD. Lastly, the S+WG led to a decrease in both GSH and Vit C levels, a slight reduction in MDA levels, and a significant increase in TAC and 6MWD. Conversely, the CG showed no statistically significant changes in any of the measured parameters. In conclusion, this study demonstrates that the supplementation of products containing sweet-type SF mixed with honey effectively enhances antioxidant activity, Vit C, and TAC levels, while concurrently reducing lipid oxidation. Furthermore, the combination of this product into a regular home-walking exercise regimen proves to be beneficial in improving the walking capacity of elderly individuals.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectStar Fruiten_US
dc.subjectAntioxidant Activityen_US
dc.subjectOxidative Stressen_US
dc.subjectPhysical Functionen_US
dc.subjectHealthy Elderlyen_US
dc.subjectมะเฟืองen_US
dc.subjectฤทธิ์ต้านการออกซิเดชันen_US
dc.subjectภาวะความเครียดออกซิเดชันen_US
dc.subjectการทำหน้าที่ด้านร่างกายen_US
dc.subjectผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดีen_US
dc.titleAntioxidant activity of honey with Star fruit concentrated product and its effects combined with exercise on oxidative stress and physical function in healthy elderly.en_US
dc.title.alternativeฤทธิ์ต้านการออกซิเดชันของผลิตภัณฑ์น้ำผึ้งผสมมะเฟืองเข้มข้นและผลร่วมกับการออกกำลังกายต่อภาวะออกซิเดทีฟสเตรสและการทำหน้าที่ด้านร่างกายในผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดีen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshStar fruit-
thailis.controlvocab.lcshHoney-
thailis.controlvocab.lcshAntioxidants-
thailis.controlvocab.lcshChemical inhibitors-
thailis.controlvocab.lcshExercise tests-
thailis.controlvocab.lcshOlder people-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractมะเฟืองเป็นผลไม้ตามฤดูกาลที่พบได้ในประเทศไทย ประกอบด้วยสารต้านอนุมูลอิสระได้แก่ ฟีนอล ซาโปนิน ฟลาโวนอยด์ ซี-ไกลโคไซด์ แทนนิน และวิตามินซี พบมากในมะเฟืองชนิดเปรี้ยว ในประเทศไทยยังมีมะเฟืองชนิดหวานที่ได้รับความนิยมปลูกและจำหน่ายในท้องตลาด ซึ่งยังไม่มีการรายงานหรือวิจัยในด้านการเปรียบเทียบความแตกต่างของมะเฟืองทั้งสองชนิดมาก่อน ดังนั้นการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาสารออกฤทธิ์และฤทธิ์ต้านการออกซิเดชันในสารสกัดมะเฟืองชนิดหวานเปรียบเทียบกับมะเฟืองชนิดเปรี้ยวในหลอดทดลอง และ (2) เพื่อประเมินฤทธิ์ต้านการออกซิเดชันและความสามารถทางด้านร่างกายจากการรับประทานผลิตภัณฑ์น้ำผึ้งผสมมะเฟืองชนิดหวานร่วมกับการออกกำลังกายด้วยการเดินที่บ้านในกลุ่มผู้สูงอายุ โดยทำการศึกษาปริมาณสารประกอบที่มีฤทธิ์ต่าง ๆ ได้แก่ ฟีนอลิกรวม ฟลาโวนอยด์รวม วิตามินซี และฤทธิ์ต้านการออกซิเดชันในสารสกัดจากมะเฟืองชนิดหวานและชนิดเปรี้ยว จากนั้นนำมะเฟืองชนิดหวานมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์น้ำมะเฟืองผสมน้ำผึ้งต้นแบบทางอุตสาหกรรม เพื่อนำมาศึกษาประสิทธิผลในกลุ่มผู้สูงอายุ ที่มีอายุเฉลี่ย 60 - 70 ปี จำนวน 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มได้รับผลิตภัณฑ์เสริมและออกกำลังกายด้วยการเดิน (11 ราย) เปรียบเทียบกับกลุ่มได้รับผลิตภัณฑ์เสริม (11 ราย) กลุ่มออกกำลังกายด้วยการเดิน (12 ราย) และกลุ่มควบคุม (12 ราย) โดยการได้รับผลิตภัณฑ์เสริมกำหนดให้ในปริมาณ 20 กรัม ผสมกับน้ำอุ่น 150 มิลลิลิตร วันละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 4 สัปดาห์ ส่วนการออกกำลังกายด้วยการเดิน กำหนดให้เดินในระดับความหนักปานกลางนาน 30 นาที 3 วันต่อสัปดาห์ ทั้งก่อนและหลังการศึกษาทดลอง 4 สัปดาห์ ทำการตรวจวัดภาวะความเครียดออกซิเดชันในเลือดได้แก่ กลูต้าไธโอน วิตามินซี ความสามารถต้านอนุมูลอิสระโดยรวม มาลอนไดอัลดีไฮด์ และระยะการเดินใน 6 นาที ผลการศึกษาพบว่า สารสกัดมะเฟืองชนิดเปรี้ยวมีปริมาณฟีนอลรวม ฟลาโวนอยด์รวม และวิตามินซีในระดับที่สูงกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับชนิดหวาน เช่นเดียวกับฤทธิ์ในการทำลายสารอนุมูลอิสระชนิด 2,2-diphenyl-1-picrylhydrazyl (DPPH) และไนตริกออกไซด์ (NO) แต่ชนิดหวานมีฤทธิ์ในการกำจัด 2,2'-azino-bis (3-ethylbenzthiazoline-6-sulphonic acid) (ABTS˚+) สูงกว่า นอกจากนี้แล้ว มะเฟืองชนิดหวานมีฤทธิ์ในการป้องกันการเกิดออกซิเดชันของกลูตาไธโอน โปรตีนคาร์บอนิลและลิพิดเปอร์ออกไซด์ได้ดีกว่าชนิดเปรี้ยว ในขณะที่มะเฟืองชนิดเปรี้ยวกระตุ้นการเกิดออกซิเดชันตามปริมาณสารสกัดในหลอดทดลอง ส่วนผลจากการศึกษาในผู้สูงอายุทั้ง 4 กลุ่ม พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญหลังจากการศึกษา 4 สัปดาห์ โดยในกลุ่มออกกำลังกายด้วยการเดินอย่างเดียวมีระดับกลูต้าไธโอนและระดับวิตามินซีลดลง ขณะที่ระดับความสามารถต้านอนุมูลอิสระโดยรวม ระดับมาลอนไดอัลดีไฮด์ และระยะการเดินใน 6 นาที เพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการออกกำลังกายอย่างมีนัยสำคัญ กลุ่มที่ได้รับผลิตภัณฑ์เสริมเพียงอย่างเดียวทำให้ระดับวิตามินซีในพลาสมาและระดับความสามารถต้านอนุมูลอิสระโดยรวมในพลาสมาสูงขึ้นและลดระดับมาลอนไดอัลดีไฮด์ โดยปริมาณกลูตาไธโอนและระยะการเดินใน 6 นาทีไม่มีการเปลี่ยนแปลง ส่วนกลุ่มที่ได้รับผลิตภัณฑ์เสริมร่วมกับการเดินมีระดับปริมาณกลูตาไธโอนและระดับวิตามินซีลดลง ระดับมาลอนไดอัลดีไฮด์ลดลงเล็กน้อย นอกจากนี้ระดับความสามารถต้านอนุมูลอิสระโดยรวมและระยะการเดินใน 6 นาที เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สำหรับในกลุ่มควบคุมไม่พบการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรใด ๆ ผลการศึกษาในครั้งนี้ แสดงให้เห็นว่าการรับประทานผลิตภัณฑ์ที่มีมะเฟืองชนิดหวานผสมน้ำผึ้ง มีส่วนช่วยเพิ่มฤทธิ์ต้านสารอนุมูลอิสระ เพิ่มระดับวิตามินซีและระดับความสามารถต้านอนุมูลอิสระโดยรวม และลดการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันของลิพิด เมื่อใช้ผลิตภัณฑ์เสริมร่วมกับการออกกำลังกายด้วยการเดินที่บ้านเป็นประจำสามารถเพิ่มความสามารถในการเดินในกลุ่มผู้สูงอายุen_US
Appears in Collections:AMS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611155905 - Jynwara Kaju.pdfAntioxidant Activity of Honey with Star Fruit Concentrated Product and Its Effects Combined with Exercise on Oxidative Stress and Physical Function in Healthy Elderly.6.11 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.