Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79249
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุกิจ กันจินะ | - |
dc.contributor.advisor | ธนะชัย พันธ์เกษมสุข | - |
dc.contributor.author | อนัส มณีพฤกษ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-12-04T17:07:15Z | - |
dc.date.available | 2023-12-04T17:07:15Z | - |
dc.date.issued | 2566-08-25 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79249 | - |
dc.description.abstract | This research studied demand for organic produce among restaurant entrepreneurs in Pai District, Mae Hong Son Province. From the survey, there were 81 restaurants in total. There were only 18 restaurant operators selling organic products. Fast food & Delivery, Fast casual and Food Truck Most restaurant operators want to buy organic produce 38 organic vegetables, 25 organic fruits, 18 chicken and duck eggs, and found that no restaurant operators wanted to buy organic meat. However the entrepreneur has comment that organic farming system should have a comprehensive network and marketing communication using online platform including Facebook Line and website to create an interesting story and there are good products to build confidence for consumers. Also encourage each area to have organic restaurants or local organic food menus. In this study, it was concluded that Most entrepreneurs still lack the knowledge and lack the confidence to buy organic produce. Related agencies should encourage farmer to produce agricultural organic product by focusing on quality and safety according to market demand. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ความต้องการผลผลิตเกษตรอินทรีย์ของผู้ประกอบการร้านอาหารในอำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน | en_US |
dc.title.alternative | Demand for agricultural organic produces of restaurant entrepreneur in Pai District, Mae Hong Son Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | ร้านอาหาร -- ปาย (แม่ฮ่องสอน) | - |
thailis.controlvocab.thash | เกษตรอินทรีย์ -- ปาย (แม่ฮ่องสอน) | - |
thailis.controlvocab.thash | ผลิตผลเกษตร -- การจัดซื้อ | - |
thailis.controlvocab.thash | การเลือกซื้อสินค้า | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยนี้ศึกษาความต้องการผลผลิตเกษตรอินทรีย์ของผู้ประกอบการร้านอาหาร ในอำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน การวิจัยนี้มีวัตุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการใช้วัตถุดิบจากผลผลิตเกษตรอินทรีย์ของผู้ประกอบการร้านอาหารในพื้นที่เทศบาลตำบลปาย 2) เพื่อศึกษาความต้องการผลผลิตเกษตรอินทรีย์ของผู้ประกอบการร้านอาหาร 3) เพื่อศึกษาแนวทางในการส่งเสริมการผลิตเกษตรอินทรีย์แก่เกษตรกร ซึ่งมีการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยใช้แบบสอบถามรวบรวมข้อมูลผู้ประกอบการร้านอาหาร 81 ราย ในเขตเทศบาลตำบลปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอนโดยไม่มีการสุ่มตัวอย่าง และคัดเลือกผู้ประกอบการร้านอาหารที่เลือกซื้อผลผลิตเกษตรอินทรีย์ โดยใช้การสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เพื่อการสัมภาษณ์เชิงลึกจากการสำรวจ ทั้งหมด 81 ร้าน มีผู้ประกอบการร้านอาหารที่มีสินค้าอินทรีย์จำหน่ายเพียง 18 ร้าน ประเภทร้านค้าที่ใช้สินค้าเกษตรอินทร์ส่วนมาก ได้แก่ อาหารจานด่วนและเดลิเวอรี่ (Fast food & Delivery) อาหารจานด่วน (Fast casual) และ รถขายอาหาร (Food Truck) ผู้ประกอบการร้านอาหารส่วนใหญ่มีความต้องการซื้อผลผลิตเกษตรอินทรีย์ โดยเป็นประเภทผักอินทรีย์ 38 ร้าน ผลไม้อินทรีย์ 25 ร้าน ไข่ไก่และไข่เป็ด 18 ร้าน แต่พบว่า ไม่มีผู้ประกอบการร้านอาหารต้องการซื้อเนื้อสัตว์อินทรีย์ อย่างไรก็ตามผู้ประกอบการ ให้ความคิดเห็นว่า ระบบเกษตรอินทรีย์ควรมีการสร้างเครือข่ายแบบครบวงจร และมีการสื่อสาร ทำการตลาดโดยใช้ช่องทางออนไลน์ ทั้ง เฟซบุ๊ค ไลน์ และ เว็บไซต์ เพื่อการสร้างเรื่องราวให้น่าสนใจ และมีผลิตภัณฑ์ที่ชัดเจนเพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภค และสนับสนุนให้แต่ละพื้นที่มีร้านอาหารอินทรีย์หรือเมนูอาหารอินทรีย์ประจำท้องถิ่น การศึกษาครั้งนี้สรุปได้ว่า ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ยังขาดองค์ความรู้และขาดความมั่นใจที่จะซื้อผลผลิตเกษตรอินทรีย์ รวมไปถึงผู้ประกอบการยังไม่ตระหนักถึงประโยชน์ของผลผลิตเกษตรอินทรีย์เท่าที่ควร ตลอดจนยังไม่มีการส่งเสริมให้ผู้บริโภคหันมาบริโภคผลผลิตเกษตรอินทรีย์ ดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรจะสนับสนุนและส่งเสริมให้เกษตรกรทำการผลิตผลผลิตเกษตรอินทรีย์ โดยเน้นด้านคุณภาพและความปลอดภัย ในขณะเดียวกัน ควรส่งเสริมด้านการตลาดเผลผลิตกษตรอินทรีย์ให้เป็นไปอย่างเป็นรูปธรรม | en_US |
Appears in Collections: | AGRI: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620832010-Anas Maneepruk.pdf | 838.46 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.