Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79229
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Siraphat Taesuwan | - |
dc.contributor.author | Phachara Jindasereekul | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-12-02T03:51:58Z | - |
dc.date.available | 2023-12-02T03:51:58Z | - |
dc.date.issued | 2023-07-10 | - |
dc.identifier.issn | 20486790 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79229 | - |
dc.description.abstract | Choline is an essential nutrient which is grouped with vitamin B, the major form of choline in food and the body are PtdC. The important roles of choline are being a constituent of cell membrane, lipoprotein and precursor for synthesis of acetylcholine. Especially, adequate choline intake can decease a risk of NAFLD and Alzheimer’s disease. This study surveyed the usual dietary intake of choline among Thai university students and staff aged 19-60 years (n=317; men 95, women 222). Socioeconomic background, health information, anthropometric data and 24-h dietary recall data were collected. The long-term usual intake was estimated using the multiple-source method. The average usual choline intake levels for men and women were (mean±SD) 433±240 and 350±170 mg/day, respectively. Moreover, choline intake was not associated with BMI, WC and WHR. The results revealed Thai young adults did not achieve the AI levels and this situation indicated that it should be of concerned. However, further study is needed to directly assess choline intake at the national level. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.subject | Choline | en_US |
dc.subject | One-carbon metabolism | en_US |
dc.subject | Adequate Intake | en_US |
dc.subject | Dietary Reference Intake | en_US |
dc.title | Estimation of Choline intake in Chiang Mai University students and staff | en_US |
dc.title.alternative | การประมาณการบริโภคโคลีนในนักศึกษาและบุคลากร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Chiang Mai University -- Students | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Chiang Mai University -- Employees | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Choline | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Nutrition | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Food preferences | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | โคลีน (choline) เป็นสารอาหารจำเป็นที่ถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มเดียวกับวิตามินบี โดยสามารถพบได้ปริมาณมากในไข่ เครื่องในสัตว์ และผลิตภัณฑ์นม ซึ่งรูปแบบของโคลีนที่มักพบได้ในอาหารและร่างกายคือ ฟอสฟาติดิลโคลีน (phosphatidylcholine) โคลีนมีหน้าที่ในการเป็นองค์ประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์ โดยเฉพาะลิโปโปรตีน (lipoprotein) และสารตั้งต้นในการสังเคราะห์สารสื่อประสาทอย่างอะเซทิลโคลีน (acetylcholine) อีกทั้งยังช่วยลดความเสี่ยงของโรคไขมันพอกตับชนิดที่ไม่ได้มีสาเหตุจากแอลกอฮอล์ (NAFLD) และโรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer’s disease) ปัจจุบันการสำรวจการบริโภคสารอาหารโคลีนในภูมิภาคเอเชียยังมีจำนวนไม่มาก โดยเฉพาะในประเทศไทย โครงการวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจการบริโภคโคลีนในนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยของไทย จำนวน 317 คน (ชาย 95 หญิง 222) โดยทำการเก็บข้อมูลทางเศรฐกิจและสังคม ข้อมูลสุขภาพ สัดส่วนร่างกาย และการบริโภคอาหารย้อนหลัง 24 ชั่วโมง เพื่อนำไปประมาณการบริโภคสารอาหารโคลีนโดยวิธี the multiple-source method รวมถึงศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการบริโภคโคลีนกับดัชนีมวลกาย (BMI) ความยาวรอบเอว (WC) และอัตราส่วนเอวกับสะโพก (WHR) ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยของการบริโภคโคลีนในอาสาสมัครชายและหญิง ได้แก่ 433±240 และ 350±170 มิลลิกรัมต่อวัน ตามลำดับ และแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (P=0.001) การบริโภคโคลีนไม่มีความสัมพันธ์กับ BMI, WC และ WHR (P>0.05) ผลการศึกษานี้บ่งชี้ว่า ค่าเฉลี่ยการบริโภคโคลีนของอาสาสมัครต่ำกว่าปริมาณสารอาหารโคลีนที่เพียงพอในแต่ละวัน อย่างไรก็ตามควรมีการขยายผลวิจัยเพื่อประเมินปริมาณการบริโภคโคลีนในระดับประเทศต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | AGRO: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631331012_พชร จินดาเสรีกุล.pdf | 2.49 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.