Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79220
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิวพร อึ้งวัฒนา | - |
dc.contributor.advisor | นพมาศ ศรีเพชรวรรณดี | - |
dc.contributor.author | สุฑาทิพย์ ใหมคำ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-11-24T01:38:06Z | - |
dc.date.available | 2023-11-24T01:38:06Z | - |
dc.date.issued | 2566-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79220 | - |
dc.description.abstract | This quasi-experimental research was conducted through a two-group pretest-posttest design. The objectives were to compare food consumption behavior scores between the experimental group before and after receiving a food literacy enhancing program and to compare the food consumption behavior scores between the experimental and control groups after they had undergone the program for a period of 8 weeks. The sample consisted of adults aged 35-59 years who were identified as being at risk for hypertension. A total of 48 participants were selected, and divided evenly into 24 for the experimental group and 24 for the control group. Research tools included 1) a program for enhancing food literacy, based on the health literacy framework of Don Nutbeam (2008) combined with food knowledge from Fingland and Thompson (2021); 2) a manual on food literacy for those at risk of hypertension in the community; 3) a video media; and 4) a food consumption log. Data collection tools were comprised of a general information questionnaire and a food consumption behavior questionnaire. The content validity index of the tools was 0.97, and the reliability, as measured by Cronbach’s alpha coefficient, was 0.84. Data was analyzed using descriptive statistics for individual data and inferential statistics including chi-square test, Fisher’s exact test, Wilcoxon signed-rank test, and Mann-Whitney U test The findings revealed that the experimental group had a higher mean score for food consumption behavior (x ̅ = 4.12, S.D. = 0.17) than before receiving the program. Their score was also significantly higher than that of the control group (x ̅ = 3.37, S.D. = 0.18) with statistical significance (p < 0.001). The study results showed that the food literacy enhancing program on dietary behaviors for people at risk of hypertension in communities can be effectively used as a guideline to modify food consumption behaviors. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | Food literacy; Dietary behaviors; High-risk group for hypertension | en_US |
dc.subject | ความรอบรู้ด้านอาหาร, พฤติกรรมการบริโภคอาหาร, กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง | en_US |
dc.title | ผลของโปรแกรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านอาหารต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน | en_US |
dc.title.alternative | Effect of the food literacy enhancing program on dietary behaviors among at risk group of hypertension in communities | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ความดันเลือด | - |
thailis.controlvocab.thash | พฤติกรรมผู้บริโภค | - |
thailis.controlvocab.thash | อาหาร | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาแบบกึ่งทดลอง ชนิดสองกลุ่ม วัดก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบคะแนนพฤติกรรมการบริโภคอาหารระหว่างกลุ่มทดลองก่อนและหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านอาหารและเพื่อเปรียบเทียบคะแนนพฤติกรรมการบริโภคอาหารระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านอาหารเป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ กลุ่มตัวอย่างคือ ประชาชนวัยผู้ใหญ่ที่มีอายุระหว่าง 35-59 ปี ที่ได้รับการคัดกรองเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 48 ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลองจำนวน 24 ราย และกลุ่มควบคุมจำนวน 24 ราย เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย 1)โปรแกรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านอาหาร ตามกรอบแนวคิดความรอบรู้ด้านสุขภาพของดอน นัทบีม (Don Nutbeam, 2008) ร่วมกับ ความรอบรู้ด้านอาหารของฟิงแลนด์และทอมป์สัน (Fingland and Thompson, 2021) 2) คู่มือความ รอบรู้ด้านการบริโภคอาหารของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน 3) สื่อวีดิทัศน์ 4) แบบบันทึกการบริโภคอาหาร เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป และแบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ได้ดัชนีความตรงของเนื้อหา (Content Validity Index) เท่ากับ 0.97 และค่าความเชื่อมั่น (Reliability) โดยหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เท่ากับ 0.84 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลและใช้สถิติทดสอบ Chi-square test, Fisher exact test, Wilcoxon signed-rank test และ Mann-Whitney U test ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมฯ มีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการบริโภคอาหาร สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ (x ̅= 4.12, S.D. = 0.17) และสูงกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ (x ̅= 3.37, SD = 0.18) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.001) จากการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านอาหารต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางใน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
641231138-สุฑาทิพย์ ใหมคำ.pdf | 4.5 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.