Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79169
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนวดนย์ คุณเลิศกิจ-
dc.contributor.authorกานต์​ ทิพยมนตรีen_US
dc.date.accessioned2023-11-13T01:16:02Z-
dc.date.available2023-11-13T01:16:02Z-
dc.date.issued2566-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79169-
dc.description.abstractElectricity from coal is an important source of energy for the country, accounting for 15% of its energy production. However, coal mining has environmental impacts as it requires the destruction of soil and rainforest areas. After the cessation of coal mining, a reforestation project was implemented in the area. Subsequently, issues arose regarding the measurement of the health of the replacement trees. Thus, a tool was needed to predict and identify the location of tree species used for reforestation, which would help with future monitoring of the health of the replacement forest. This thesis presents a method to predict and identify the location of tree species, specifically two types: the teak tree and the salao tree, in the reforestation area of the Mae Moh lignite mine rehabilitation zone in Mae Moh District, Lampang province. These experiments were conducted for all tree species and all month, different tree species and all month, each tree specise within the same month, tree species in a given month and for same tree species within the following month. The goal is to find the most suitable deep learning model for assessing the future forest's fertility after reforestation. From the results of experiments, it was found that deep learning models can identify the species and areas of teak and salao trees by measuring the weighted-f1 score, which was greater than 0.80 in all experiments.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectDeep Learningen_US
dc.subjectSemantic Segmentationen_US
dc.titleการระบุสายพันธุ์ของต้นไม้โดยการใช้ภาพจากอากาศยานไร้คนขับและการแบ่งส่วนด้วยความหมายโดยการเรียนรู้เชิงลึกen_US
dc.title.alternativeIdentification of tree species using unmanned aerial vehicle images and deep learning based semantic segmentationen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashพันธุ์พืช-
thailis.controlvocab.thashอากาศยานไร้นักบิน-
thailis.controlvocab.thashอากาศยานไร้นักบินในการวิเคราะห์ข้อมูลระยะไกล-
thailis.controlvocab.thashการวิเคราะห์ข้อมูลระยะไกล-
thailis.controlvocab.thashการเรียนรู้เชิงลึก (การเรียนรู้ของเครื่อง)-
thailis.controlvocab.thashการเรียนรู้ของเครื่อง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractพลังงานไฟฟ้าจากถ่านหินเป็นแหล่งพลังงานสำคัญของประเทศ โดยมีสัดส่วนเป็น 15% ของพลังงานไฟฟ้ารวมทั้งประเทศ แต่การทำเหมืองถ่านหินจะมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เนื่องจากต้องทำลายหน้าดินและพื้นที่ป่าบริเวณนั้น ซึ่งหลังการเลิกใช้งานเหมืองถ่านหินแล้ว จึงได้มีโครงการปลูกพืชทดแทนขึ้นมาในบริเวณเดิม หลังจากนั้นเกิดปัญหาเรื่องการวัดความอุดมสมบูรณ์ของต้นไม้ที่ปลูกทดแทน จึงต้องมีเครื่องมือที่สามารถทำนายและบอกบริเวณของพันธุ์ไม้ที่ได้ทำการปลูกทดแทนได้ เพื่อต่อยอดไปสู่การวัดความอุดมสมบูรณ์ของบริเวณการปลูกพืชทดแทนต่อไป วิทยานิพนธ์นี้จึงได้นำเสนอวิธีการทำนายและบอกบริเวณของพันธุ์ไม้ที่ได้ทำการปลูกทดแทนจำนวน 2 ชนิดได้แก่ต้นสัก และต้นเสลา บริเวณป่าปลูกในพื้นที่ฟื้นฟูเหมืองลิกไนต์แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ลำปาง โดยใช้โมเดลการเรียนรู้เชิงลึก นอกจากนี้ยังได้มีการนำเสนอการเปรียบเทียบโมเดลการเรียนรู้เชิงลึกจากการทดลองพันธุ์ไม้รวม การทดสอบเฉพาะพันธุ์ไม้แต่ละชนิด การทดสอบพันธุ์ไม้แต่ละชนิดในเดือนเดียวกัน การสอนพันธุ์ไม้แต่ละชนิดในเดือนหนึ่งและทดสอบด้วยพันธุ์ไม้แต่ละชนิดในเดือนถัดไป เพื่อจะหาโมเดลการเรียนรู้เชิงลึกที่เหมาะสมที่สุด สำหรับการวัดความอุดมสมบูรณ์ของป่าที่ทำการปลูกทดแทนต่อไป ซึ่งจากผลการทดลองพบว่าโมเดลการเรียนรู้เชิงลึกสามารถทำการระบุชนิดและพื้นที่ของต้นสักและเสลา โดยวัดจากค่า weighted-f1 ได้ค่ามากกว่า 0.80 ทุกการทดลองen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630631145-กานต์​ ทิพยมนตรี.pdf20.7 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.