Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79162
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สรัลนุช ภู่พิสิฐ | - |
dc.contributor.author | อัญชิสา บุญมาก | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-11-10T00:42:41Z | - |
dc.date.available | 2023-11-10T00:42:41Z | - |
dc.date.issued | 2023-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79162 | - |
dc.description.abstract | Nowadays, the overhead lines system faces landscape problems. The many wires hanging in the air obscures the beautiful scenery and affects the growth of trees. There is also a risk of short circuit. which caused a fire, so bringing the wires underground or changing to an underground cable system is one way to solve these problems. The purpose of this study was to assess the life cycle GHG emissions of overhead lines system compared to underground cable system. The scope of assessment included the acquisition of raw materials, the installation construction as well as the operating stage. The functional unit of the assessment was per distance of 1 kilometer of a 22 kV power system supplying power for a period of 70 years. The study found that the overhead lines system emitted 12,942,026.10 kgCO2e/km of greenhouse gases, while the underground cables system emitted 7,904,692.31 kgCO2e/km, with both systems having the greatest impact on the operating process. which is 99.51 percent in case of overhead lines system and 98.22 percent in case of underground cables system. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | Greenhouse gas | en_US |
dc.title | การประเมินก๊าซเรือนกระจกตลอดวัฏจักรชีวิตของระบบไฟฟ้าเหนือดินและระบบไฟฟ้าเคเบิลใต้ดิน | en_US |
dc.title.alternative | Greenhouse gas life-cycle assessment of overhead line and underground cable systems | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | - |
thailis.controlvocab.thash | ก๊าซเรือนกระจก | - |
thailis.controlvocab.thash | การเดินสายไฟฟ้า | - |
thailis.controlvocab.thash | สายเคเบิลไฟฟ้า | - |
thailis.controlvocab.thash | สายไฟฟ้า | - |
thailis.controlvocab.thash | ระบบไฟฟ้ากำลัง | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ปัจจุบันระบบไฟฟ้าเหนือดินประสบปัญหาด้านภูมิทัศน์ ความสวยงามเนื่องจากมีสายไฟจำนวนมากแขวนอยู่บนอากาศทำให้บดบังทัศนียภาพที่สวยงาม และกระทบต่อการเจริญเติบโตของต้นไม้ อีกทั้งยังมีความเสี่ยงเกิดไฟฟ้าลัดวงจร อันเป็นเหตุเพลิงไหม้ ดังนั้นการนำสายไฟลงใต้ดินหรือเปลี่ยนเป็นระบบไฟฟ้าเคเบิลใต้ดินจึงเป็นแนวทางหนึ่งในการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจกตลอดวัฎจักรชีวิตของระบบไฟฟ้าเหนือดิน เปรียบเทียบกับระบบไฟฟ้าเคเบิลใต้ดิน ตั้งแต่การได้มาซึ่งวัตถุดิบ การก่อสร้างติดตั้งระบบ ตลอดจนการใช้งาน กำหนดหน่วยหน้าที่การทำงานของการประเมินในหน่วยระยะทาง 1 กิโลเมตร ของระบบไฟฟ้า 22 kV ใช้งานเป็นระยะเวลา 70 ปี ผลการศึกษาพบว่า ระบบไฟฟ้าเหนือดินมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเท่ากับ 12,942,026.10 kgCO2e/kmในขณะที่ระบบไฟฟ้าใต้ดินมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเท่ากับ 7,904.692.31 kgCO2e/km โดยทั้งสองระบบจะส่งผลมากที่สุดในขั้นตอนการใช้งาน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 99.51 กรณีระบบไฟฟ้าเหนือดิน และร้อยละ 98.22 กรณีระบบไฟฟ้าเคเบิลใต้ดิน | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
640632009 Unchisa Boonmak.pdf | 2.89 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.