Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79149
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธีรชัย เจียระนัยปรีดาen_US
dc.contributor.authorTheerachai Jiaranaipreedaen_US
dc.date.accessioned2023-11-07T09:35:04Z-
dc.date.available2023-11-07T09:35:04Z-
dc.date.issued2566-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79149-
dc.description.abstractThis study aims to analyze the impact of online influencers on the purchasing decisions of Generation Y and Generation Z individuals in Chiang Mai province regarding computer purchases. The sample size was collected of 400 participants who had personally bought computers. Data was collected by distributed at Plaza Computer and Pantip Plaza Chiang Mai, as well as online questionnaires administered through the "Extreme IT - Computer Enthusiasts" Facebook group. Statistical analysis involved the use of descriptive statistics with frequencies, percentages, means, and standard deviations. Inferential statistics techniques, including F-test (One Way ANOVA), were utilized to test hypotheses. The results revealed that a majority of the sample had a preference for online influencers, particularly Celebrity Influencers, who had more than 100,000 followers and were widely recognized figures in fields like acting, sports, and music. These influencers were perceived to be genuine in their product endorsements, provided accurate information about computers, and demonstrated expertise in the subject. The influence of online influencers on the decision-making process was observed. For Generation Y, the impact was significant across almost all stages except for awareness. In the case of Generation Z, the influence was significant in generating knowledge, satisfaction, confidence, and purchase intention stages. However, for awareness and interest stages, the influence was moderately significant. Then hypotheses were tested using inferential statistics, including F-test (One Way ANOVA) and pairwise comparison tests, it was found that the type of online influencers significantly differed in their influence across sub-factors and decision-making stages for both Generation Y and Generation Z, with statistical significance at the .05 level.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการเปรียบเทียบผลกระทบของออนไลน์อินฟลูเอนเซอร์ต่อการตัดสินใจซื้อคอมพิวเตอร์ ระหว่างคนเจเนอเรชัน Y และเจเนอเรชัน Z ในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeComparison of online influencers impact towards computer purchasing decision between generation Y and generation Z in Chiang Mai provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashคอมพิวเตอร์ -- การจัดซื้อ-
thailis.controlvocab.thashผู้บริโภค -- เชียงใหม่ -- การตัดสินใจ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบของออนไลน์อินฟลูเอนเซอร์ต่อการตัดสินใจซื้อคอมพิวเตอร์ของกลุ่มคนเจเนอเรชัน Y และเจเนอเรชัน Z ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 รายที่เคยซื้อคอมพิวเตอร์ด้วยตนเอง ด้วยแบบสอบถามที่ศูนย์คอมพิวเตอร์พลาซ่า และพันธุ์ทิพย์พลาซ่า เชียงใหม่ และแบบออนไลน์ผ่านกลุ่ม Face book “ Extreme IT กลุ่มสำหรับคนรักการแต่งคอมพิวเตอร์” การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนา เช่น ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ F-test (One Way ANOVA) เพื่อทดสอบสมมติฐาน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ชื่นชอบผู้ที่มีอิทธิพลบนสื่อออนไลน์ ประเภท Celebrity Influencers มีจำนวนผู้ติดตาม 100,000 คนขึ้นไป ชื่อเสียงในวงกว้างและมีอิทธิผลต่อกลุ่มแฟนกระแสหลัก เป็นนักแสดง นักกีฬา และนักดนตรี ซึ่งควรมีคุณสมบัติด้าน ความจริงใจในการแนะนำสินค้า การเสนอข้อมูลเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์อย่างถูกต้อง และความเชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์ ผู้มีอิทธิพลบนสื่อออนไลน์ มีผลต่อการตัดสินใจ ของกลุ่มคนเจเนอเรชัน Y เปรียบเทียบกับ เจเนอเรชัน Z พบว่า กลุ่มคนเจเนอเรชัน Y ได้รับอิทธิพลระดับมากในเกือบทุกปัจจัย เว้นแต่ด้านการรู้จัก ส่วน เจเนอเรชัน Z ได้รับอิทธิพลในระดับมากในด้านการเกิดความรู้ ด้านความพอใจ ด้านความเชื่อมั่น และด้านการซื้อเท่านั้น ส่วนด้าน การรู้จัก และด้านความสนใจในตัวผลิตภัณฑ์ได้รับอิทธิพลในระดับปานกลาง เมื่อทดสอบสมมติฐานใช้การวิเคราะห์สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ได้แก่ F-test (One Way ANOVA) และการทดสอบรายคู่ พบว่าในการซื้อทั้ง 5 ขั้นตอน ทั้ง 2 เจนเนเรชัน พบว่าประเภทของผู้มีอิทธิพลบนสื่อออนไลน์มีอิทธิพลแตกต่างกันในปัจจัยย่อยและในระดับขั้นการตัดสินใจที่ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.