Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79133
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุมาลี เลิศมัลลิกาพร | - |
dc.contributor.advisor | วิลาวัณย์ เตือนราษฎร์ | - |
dc.contributor.author | เนตรนภา ศรีอินทร์คำ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-11-05T08:55:21Z | - |
dc.date.available | 2023-11-05T08:55:21Z | - |
dc.date.issued | 2023-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79133 | - |
dc.description.abstract | Child sexual harassment has an upward trend that affects the physical and mental state of children. Therefore, sexual harassment prevention among middle school girls through family participation is extremely necessary. This study used a quasi-experimental design with two pretest-posttest groups which aimed to examine the effect of the family participation program on sexual harassment prevention practices among parents of middle school girls in the community. The samples were forty-two parents of middle school girls who were purposively selected and assigned into control and experimental groups with twenty-one participants in each group. The study was implemented from February to April 2023. The instruments used in this study consisted of the family participation program, developed from the participation concept of Cohen and Uphoff (1981); a handbook on sexual harassment among middle school girls for parents; and a questionnaire on sexual harassment prevention practices among parents of middle school girls. The instruments were approved by six experts with a content validity index value of .94 and a reliability value of .95. Data were analyzed by descriptive statistics and paired t-test. The research results revealed that after the family participation program 1) parents in the group receiving the program had a mean score of sexual harassment prevention practice higher than before receiving the program (t = 5.57, p < .001) and 2) parents in the group receiving the program had a mean score of sexual harassment prevention practice higher than the group who did not receive the program (t = 5.89, p < .001). The results of this study show that the family participation program can increase sexual harassment prevention practices among parents of middle school girls in the community. Therefore, this family participation program should be implemented to prevent further sexual harassment of middle school girls in other schools. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ผลของโปรแกรมการมีส่วนร่วมของครอบครัวต่อการปฏิบัติการป้องกันการล่วงละเมิดทางเพศในผู้ปกครองของ เด็กหญิงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในชุมชน | en_US |
dc.title.alternative | Effect of the family participation program on sexual harassment prevention practices among parents of middle school girls in the community | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | อาชญากรรมทางเพศ | - |
thailis.controlvocab.thash | การทารุณทางเพศต่อเด็ก | - |
thailis.controlvocab.thash | ผู้ปกครองกับเด็ก | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การล่วงละเมิดทางเพศในเด็กมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นซึ่งส่งผลกระทบต่อสภาวะทางด้านร่างกายและจิตใจของเด็ก ดังนั้นการป้องกันการล่วงละเมิดทางเพศในเด็กหญิงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research) แบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง (Two group pretest-posttest design) ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการมีส่วนร่วมของครอบครัวต่อการปฏิบัติการป้องกันการล่วงละเมิดทางเพศในผู้ปกครองของเด็กหญิงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในชุมชน กลุ่มตัวอย่างคือผู้ปกครองเด็กหญิงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจำนวน 42 คนคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงแบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 21 คน ดำเนินการวิจัยระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ถึง เมษายน พ.ศ. 2566 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย โปรแกรมการมีส่วนร่วมของครอบครัวที่พัฒนามาจากแนวคิดทฤษฎีการมีส่วนร่วมของโคเฮนและอัฟฮอฟ (Cohen & Uphoff, 1981) คู่มือการป้องกันการล่วงละเมิดทางเพศในเด็กหญิงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นสำหรับผู้ปกครอง และแบบสอบถามการปฏิบัติการป้องกันการล่วงละเมิดทางเพศของผู้ปกครองนักเรียนเด็กหญิงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เครื่องมือได้รับการตรวจสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 6 ท่านมีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา เท่ากับ .94 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .95 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และ Paired t-test ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมฯ 1) ผู้ปกครองกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ มีคะแนนเฉลี่ย การปฏิบัติการป้องกันการล่วงละเมิดทางเพศสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม ฯ (t = 5.57, p < .001) และ 2) ผู้ปกครองกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ มีคะแนนเฉลี่ยการปฏิบัติการป้องกันการล่วงละเมิดทางเพศสูงกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับโปรแกรมฯ (t= 5.89, p < .001) ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการมีส่วนร่วมของครอบครัวมีผลทำให้การปฏิบัติการป้องกันการล่วงละเมิดทางเพศในผู้ปกครองของเด็กหญิงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในชุมชนเพิ่มขึ้นได้ ดังนั้นควรมีการนำโปรแกรมการมีส่วนร่วมของครอบครัวนี้มาใช้เพื่อป้องกันการล่วงละเมิดทางเพศของเด็กหญิงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนอื่นต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631231133 เนตรนภา ศรีอินทร์คำ.pdf | 4.71 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.