Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79122
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภัทราภรณ์ ภทรสกุล-
dc.contributor.advisorสมบัติ สกุลพรรณ์-
dc.contributor.advisorชาลินี สุวรรณยศ-
dc.contributor.authorอโณทัย จันทร์ใสen_US
dc.date.accessioned2023-10-28T10:52:12Z-
dc.date.available2023-10-28T10:52:12Z-
dc.date.issued2564-12-29-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79122-
dc.description.abstractSchizophrenia is a chronic mental illness, and long-term care for a persons with schizophrenia can create a caregiving burden on caregivers. This predictive correlational research aimed to investigate the predictive factors and caregiving burden on caregivers of persons with schizophrenia. The subjects were primary caregivers of persons with schizophrenia who had come to receive services at a psychiatric clinic at the district hospital in Chiang Mai, and included 110 cases. Data were collected between June and August 2021. The instruments used in the research consisted of 6 parts: 1) Demographic data, 2) Zarit Burden Interview (ZBI), 3) Brief Psychotic Rating Scale (BPRS), 4) Caregiving Knowledge Test, 5) Social Support Questionnaire and 6) the Psychiatric Family Caregiving Skills Scale. The reliability of the instruments was .83, .83, .84, .88 and .84 respectively. Data were analyzed using descriptive statistics and stepwise multiple regression. The results revealed that: 1. Most caregivers of persons with schizophrenia perceived no caregiving burden (63.6%), while some (27.3%) had a mild to moderate caregiving burden, and 8.2% had a moderate to severe caregiving burden. 2. Knowledge of Caregivers was the only factor that was able to predict the caregiving burden among caregivers of persons with schizophrenia which accounted for 10.6% (p = .001). The results of this research show that knowledge of caregivers for persons with schizophrenia is an important predictive factor of the caregiving burden on caregivers of persons with schizophrenia. Therefore, in caring for persons with schizophrenia, health care providers should focus on educating caregivers of persons with schizophrenia related to caregiving in order to decrease the perception of the caregiving burden and enhance continuing care for persons with schizophrenia.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยทำนายภาระการดูแลในผู้ดูแลผู้ที่เป็นโรคจิตเภทen_US
dc.title.alternativePredicting factors of caregiving burden among caregivers of persons with Schizophreniaen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashผู้ป่วยจิตเภท -- การดูแล-
thailis.controlvocab.thashผู้ป่วย -- การดูแล-
thailis.controlvocab.thashจิตเภท-
thailis.controlvocab.thashโรคจิต-
thailis.controlvocab.thashผู้ดูแล-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractโรคจิตเภทเป็นการเจ็บป่วยทางจิตที่เรื้อรัง การดูแลผู้ที่เป็นโรคจิตเภทที่ยาวนานอาจก่อให้เกิด ภาระในการดูแลในผู้ดูแลผู้ที่เป็นโรคจิตเภทได้ การวิจัยเชิงทำนายครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา ปัจจัยทำนายเละภาระการดูแลในผู้ดูแลผู้ที่เป็นโรคจิตเภท กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ดูแลผู้ที่เป็น โรคจิตเภทที่ ทำหน้าที่ในการให้การดูแลหลักสำหรับผู้ที่เป็นโรคจิตเภท ที่มารับบริการที่คลินิกจิตเวชโรงพยาบาล ระดับอำเภอ ในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 110 ราย รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือน มิถุนายน ถึงเดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 6 ส่วน คือ ส่วนที่ 1) แบบสอบถามข้อมูล ส่วนบุคคล ส่วนที่ 2) แบบประเมินความรู้สึกเป็นภาระ ส่วนที่ 3) แบบประเมินอาการทางจิต ส่วนที่ 4) แบบวัดความรู้เกี่ยวกับการดูแล ส่วนที่ 5) แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม และส่วนที่ 6) แบบ วัดทักษะการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่บ้าน โดยมีค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือเท่ากับ.83, 83, 84, .88 และ 84 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและการถคถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้ดูแลผู้ที่เป็นโรคจิตเภทรับรู้ว่าไม่มีภาระการดูแล ร้อยละ 63.6 มีภาระการดูแลในระดับ น้อยถึงปานกลางร้อยละ 27.3 และระดับปานกลางถึงรุนแรง ร้อยละ 8.2 ตามลำดับ 2. ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ที่เป็นโรคจิตเภท เป็นเพียงปัจจัยเดียวที่สามารถทำนายภาระการ ดูแลในผู้ดูแลผู้ที่เป็นโรคจิตเภท โดยสามารถทำนายภาระการดูแลได้ร้อยละ 10.6 อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .001 ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ที่เป็นโรคจิตเภทเป็นปัจจัยทำนายที่ สำคัญต่อการรับรู้ภาระการดูแลในผู้ดูแลผู้ที่เป็นโรคจิตเภท ดังนั้นในการดูแลผู้ที่เป็นโรคจิตเภท ทีมผู้รักษาควรให้ความสำคัญในการให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ที่เป็นโรคจิตเภทแก่ผู้ดูแลเพื่อให้การ ดูแลเป็นไปอย่างต่อเนื่องและลดการรับรู้ภาระในการดูแลต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621231016 อโณทัย จันทร์ใส.pdf2.09 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.