Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79115
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Korawan Sringarm | - |
dc.contributor.advisor | Supamit Mekchay | - |
dc.contributor.advisor | Niraporn Chaiwang | - |
dc.contributor.author | Chanmany Souphannavong | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-28T10:28:38Z | - |
dc.date.available | 2023-10-28T10:28:38Z | - |
dc.date.issued | 2022-01-31 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79115 | - |
dc.description.abstract | The objective of this study was to determine the effect of perilla cake (PC) supplementation in a growing pig diet on nutrient digestibility, productive performance, meat quality, and fatty acid profile. The nutritional values of PC and the potential for dietary supplementation in growing pigs were determined based on in vitro ileal digestibility (IVID) and apparent total tract digestibility (ATTD). The IVID evaluated at four dietary supplementation levels: 0, 5, 10, and 20%PC. The ATTD was measured by using twenty-four grower crossbred pigs. Pigs were randomly assigned to three dietary supplementation levels (0, 5, and 10%PC). From these analytical results, PC raw material contained crude protein (CP) content (31.54%). That total essential amino acid (EAA) was 138.34 mg/g. mainly leucine (28.87 mg/g), and contained notably limiting amino acids for pigs, such as lysine (19.52 mg/g) and methionine (10.94 mg/g). The ether extract content (EE) was 10.52%, and the major free fatty acid (FFA) was linolenic acid (C18:3n3; 55.97%) and the fat-soluble vitamins included γ-tocopherol (367.25 µg/100g). In addition. PC contained minerals such as phosphorus (1.02%), potassium (0.83%), calcium (0.46%), and iron. However, crude fiber (CF) had a notably high content (24.43%). Increasing PC levels in pig diets reduced the IVID of dry matter (DM), EE, and CF (P <0.05), especially the 20%PC supplement. The IVID of the CP did not differ among the groups. Furthermore, the results for the ATTD of the CP and EE in the 5%PC supplement group were significantly better than those of the other groups (P <0.05). For the productive performance, meat quality, and fatty acid profile, a total of 24 barrow grower crossbred pigs (Large White x Landrace) x Duroc with an initial average body weight of 26.33 kg. They were fed with a basal diet supplemented with PC at 0%, 5%, and 10% (0%PC, 5%PC, and 10%PC, respectively) for 12 weeks. At the end of the experimental period, pigs were slaughtered to determine carcass traits and meat quality. Back fat, abdominal fat, and longissimus dorsi (LD) muscle were collected to investigate fatty acid composition. The results show that the average daily gain (ADG) in the 10%PC significantly increased. However, PC supplementation did not influence carcass traits and meat quality except for the color, as described by lightness (L*). Dietary PC supplementation significantly increased the o-linolenic acid (ALA, C18:3 cis-9, 12, 15), whereas n6/13 ratio decreased significantly in all tissues investigated. Thus, it can be concluded that the potential of PC as an alternative protein source. Moreover, it contained high energy and polyunsaturated fatty acids. And the supplementation of PC in a growing pig diet is a potential way to increase the fatty acid composition to that required for healthier meat. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Efficiency of perilla cake for soybean meal substitution on nutrient digestibility, productive performance and meat quality in crossbred pig | en_US |
dc.title.alternative | ประสิทธิภาพของกากงาขี้ม่อนในการทดแทนกากถั่วเหลืองต่อโภชนะที่ย่อยได้สมรรถภาพการผลิตคุณภาพเนื้อในสุกรลูกผสม | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Swine -- Feeding and feeds | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Feeds | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Animal feeding | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Animal nutrition | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Perilla Cake | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Soybean meal | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อศึกยาผลของการเสริมกากงาขี้ม้อนในอาหารสุกรรุ่นต่อ การย่อยได้ สมรรถภาพการผลิต คุณภาพเนื้อ และองค์ประกอบของกรดไขมัน คุณค่าทางโภชนะของ กากงาขี้ม้อนและศักยภาพของการใช้เสริมในอาหารสุกรรุ่นถูกประเมิน โดยการย่อยได้ในหลอด ทดลองและการย่อยได้ปรากฏ การศึกษาการย่อยได้ในหลอดทคลองถูกประเมินโดยใช้อาหารที่เสริม กากงาขี้ม้อน 4 ระดับ ได้แก่ ง, 5, 10 และ 20%0 ในสูตรอาหาร ในขณะที่การย่อยได้ปรากฎใช้สุกร ลูกผสมจำนวน 24 ตัว แบ่งออกเปีน : กลุ่มการทคลองตามระดับการเสริมกากงาขี้ม้อน (0, 5 และ 100%) ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของกากงาขี้ม้อน พบว่า มีโปรตีนโดยรวม 31.54% และยัง มีกรคอะมิโนที่จำเป็นทั้งหมด 134.34 mg/g โดยเฉพาะกรดอะมิโนลิวซีนมีปริมาณ 28.87 mg/g และ กรดอะมิโนที่มักขาดในสุกรพบว่า กากงาขี้ม้อนมีกรดอะมิโนไลซีน 19.52 mg/g และมีกรดอะมิโน เมทไธโอนีน 10.94 mg/g อีกทั้งยังมีไขมันโดยรวมเท่ากับ 10.52% และมีกรดไขมันหลักโดยเฉพาะ กรดลิโนเลอิกสูงถึง 55.97% และยังมีวิตามินที่ละลายไขมัน เช่น วิตามินอี (367. 25 µg/100g) นอกจากนี้ กากงาขี้ม้อนยังมีแร่ธาตุ เช่น ฟอสฟอรัส (1.02% โพเทสเซียม (0.83%) และแคลเซียม (0.46%) อย่างไรก็ตาม พบว่ากากงาขี้ม้อนมีเยื่อใยโคยรวมค่อนข้างสูง (24.43%) ดังนั้น ใช้ปริมาณกาก งาขี้ม้อนที่เพิ่มมากขึ้นส่งผลให้การย่อยได้ในหลอดทดลองของวัตถุแห้ง ไขมัน โดยรวม และเยื่อใย โดยรวมลดลงอย่างมีนัยสำคัญ (P < 0.05) โดยเฉพาะการเสริมกากงาขี้ม้อนในอาหารสุกรรุ่นที่ระดับ 20% ทั้งนี้ การย่อยได้ในหลอดทดลองของโปรตีน โดยรวมไม่มีความแตกต่างกันในแต่ละระดับของ การเสริมกากงาขี้ม้อน และนอกจากนี้ พบว่าการย่อยได้ปรากฏของโปรตื่นโคยรวม และไขมัน โคยรวมของการเสริมกากงาขี้ม้อนในอาหารสุกรรุ่นที่ระดับ 5% มีค่าการย่อยได้ดีกว่ากลุ่มอื่นอย่างมื นัยสำคัญ (P < 0.05) การศึกษาการเสริมกากงาขึ้ม้อนในอาหารสุกรรุ่นต่อสมรรถภาพการผลิต คุณภาพเนื้อและ องค์ประกอบของกรดไขมัน ใช้สุกรตัวผู้ตอนลูกผสม (Lage White x Landrace) x Duroc จำนวน 24 ตัว น้ำหนักเริ่มต้นเฉลี่ย 26.33 kg แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มการทดลอง โดยได้รับอาหารที่เสริมกากงา ขี้ม้อนที่ระดับ 0%, 5% และ 10% (0% PC, 5% PC และ 10% PC ตามลำดับ) ทำการทคลองเป็นเวลา 12 สัปดาห์ เมื่อสิ้นสุดการทคลองสุกรทั้งหมดถูกฆ่า เพื่อประเมินลักษณะซากและคุณภาพเนื้อ ไขมันสัน หลัง ไขมันหน้าท้อง และเนื้อสัน จากการศึกษาพบว่า สุกรในกลุ่ม 10%PC มีอัตราการเจริญเติบโต เฉลี่ยต่อวันสูงที่สุดอย่างมีนัยสำคัญ การเสริมกากงาขี้ม้อนในอาหารสุกรรุ่นไม่มีอิทธิพลต่อลักษณะ ซากและคุณภาพเนื้อ ยกเว้นค่าสีของเนื้อโดยเฉพาะค่าความสว่าง (L*) การเสริมกากงาขี้ม้อนในอาหาร สุกรรุ่นส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของกรดแอลฟ่าลิโนเลนิค (ALA, C18:3 cis-9, 12, 15) อย่างมีนัยสำคัญ ในขณะที่สัดส่วนของ n6/n3 กลับลดลงในทุกเนื้อเยื่อที่ทำการศึกษา ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า กากงาขี้ม้อน มีศักยภาพที่เหมาะสมในการ ใช้เป็นแหล่งวัตถุดิบโปรตีนทางเลือกในสูตรอาหารสุกรรุ่น นอกจากนี้ กากงาขี้ม้อนยังมีพลังงานและกรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงช้อนที่สูงอีกด้วย ดังนั้น การเสริมกากงาขี้ม้อน ในอาหารสุกรรุ่นจึงเหมาะสมที่ใช้เพื่อเพิ่มองค์ประกอบกรดไขมันที่ดีในเนื้อสุกรเพื่อดอบโจทย์ความ ต้องการเนื้อที่ดีต่อสุขภาพ | en_US |
Appears in Collections: | AGRI: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620851013 CHANMANY SOUPHANNAVONG.pdf | 5.67 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.