Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79113
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชนากานต์ เทโบลต์ พรมอุทัย | - |
dc.contributor.advisor | ศันสนีย์ จำจด | - |
dc.contributor.author | จินตนา สงค์ศรีอินทร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-28T10:22:49Z | - |
dc.date.available | 2023-10-28T10:22:49Z | - |
dc.date.issued | 2564-12-22 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79113 | - |
dc.description.abstract | Boron is an essential nutrient for plant growth and development. It plays the important roles in pollen development and fertility resulting in increasing the number of fertile grains and yield. It has been reported that boron deficiency in the soil causes the low production in several crops across 80 countries. Therefore, applying boron would be a promising way to reduce the loss of yield caused by boron deficiency in soils. The limited information on the efficacy of boron fertilizer in the economical crops, particularly in rice is reported in comparison to the other crops. Therefore, the objective of this study was to evaluate the effects of boron fertilizer on boron uptake and yield productivity of the Sanpatong 1 rice variety. This study was carried out in two experiments as in the following details. Experiment 1 was to evaluate the effects of boron fertilization application on boron uptake and yield production in Sanpatong 1 rice variety grown at two different locations in comparison between the research station, Chiang Mai University, and farmer's field at San Sai District, Chiang Mai Province. Each experimental site was carried out under the same experimental design and management. The experiment was arranged in a randomized complete block design (RCBD) with four replications. Eight different treatments of boron fertilizer were applied in Sanpatong 1 rice variety. The treatments of soil applications were applied from one to seven at seven days before planting, while the eighth treatment was the foliar application of boron, two times at flowering and early milky stages. The results showed the rice plants grown in the San Sai location had a higher grain yield than plants grown at Chiang Mai University. It was not found the difference among the treatments of boron applications on grain yield at both locations. Applying Etidot-67 increased straw dry weight and percentage of filled grain at Chiang Mai University, but no effect on grain yield was found, which contrasted with the San Sai location as the reduction of straw dry weight was observed. On the other hand, it was found that applying Granular Boraks Pentahydrate and Granular Colemanite increased the straw dry weight of plants grown at Chiang Mai University from the increasing of numbers of tillers and panicles per hill compared to the control. In addition, filled grain was increased when applied with Boric Acid at Chiang Mai University, whereas, the numbers of tillers panicles per hill and percentage of filled grain were increased when applied with foliar of Etidot-67 as compared to the control. Application of boron fertilizer had affected boron concentration in plant tissues. It was found that applying boron fertilizer as in Borax Pentahydrate power resulted in the highest boron concentration in stem without the significant effect of location at Chiang Mai University, while the application of Granular Colemanite resulted in the highest concentration of boron accumulation in leave and flag leaf. On the other hand, the highest boron concentrations in leave and flag leaf were observed when applied with the Borax Pentahydrate power at San Sai location. According to the results, applying boron fertilizers as in Borax Pentahydrate power, Boric Acid and Granular Colemanite increased the straw dry weight, numbers of tillers and panicles per hill and percentage of filled grain, which might be due to the enhance in boron concentration in plant tissues. However, the increased boron concentration in the tissues was not significantly increased the grain yield. The result showed that total boron uptake by Sanpatong 1 at San Sai location was 5.3 mg/m2, which was 1.2 times higher than at Chiang Mai University location. In addition, there was significantly different in the total boron uptake among boron treatments. Applying boron fertilizers as in Borax Pentahydrate power, Boric Acid and Granular Colemanite increased the total boron uptake ranging from 5.4-6.0 mg/m2, which was higher than no boron application at 4.1 mg/m2 . This study indicated that the variations in boron uptake and accumulation in rice plants could be varied depending on the soil environmental factors, especially the soil fertility. The experiment 2 was to evaluate the effects of lime and boron fertilization application on boron uptake and yield production in Sanpatong 1 rice variety. A pot experiment was conducted at the research station, Chiang Mai University. The experimental design was arranged in the factorial in completely randomized design (CRD) with three replications comprising of two factors, lime (non-lime application and lime application at the rate of 12 g/pot (2 t/ha) and boron fertilizer application (non-boron, soil boron, foliar boron, and soil boron + foliar boron fertilizer). The results showed that soil boron + foliar boron fertilizer applications increased grain yield of Sanpatong 1 grown under soil lime application. While, applying soil and foliar boron fertilizer increased the number of tillers and panicle per plant compared to non-boron fertilizer in the soil without lime application. The harvest index and 1,000 grain weight were decreased when applied with soil boron + foliar boron fertilizer in non-lime soil condition, but it increased the percentage of filled grain in plants grown under lime soil condition. The applications of all boron fertilizer treatments increased the percentage of fully developed grain compared to non-boron fertilizer which was observed in both with and without soil lime condition. This indicates that applying lime and boron fertilizer improved rice grain yield. Considering the concentration of boron in different parts, it was found that the rice plants grown under non-lime soil application, foliar boron fertilization increased stem and flag leaf boron concentrations. Applying soil boron alone and soil boron + foliar boron fertilization increased leaves and flag leaf boron concentration. Under the lime soil application, soil boron increased leaves boron concentrations compared with no boron applied. The applications of foliar boron and soil boron + foliar boron treatments increased leaves, flag leaf, and grain boron concentration compared to non-boron fertilizer. These results showed that rice grown under lime soil condition, boron application effectively increased tissues boron concentration as well as grain yield in comparison to the soil without lime application. For boron content, foliar boron fertilizer increased stem and flag leaf boron content in rice grown under non-lime soil application, while the application of soil boron and soil boron + foliar fertilizer treatments increased leaves and flag leaf boron content compared to non-boron fertilizer. Under lime soil application, it was found that applying soil boron fertilizer increased boron content in leaves, while foliar boron increased leaves, flag leaf, and grain boron content. Grain boron concentration was enhanced by soil boron + foliar fertilizer application. These results indicated that lime application into the soil would help to promote the effectiveness of boron fertilizer due to the improvement of nutrient availability in the soil. The positive correlation between grain yield and percentage of filled grain was observed, indicating that applying lime and boron fertilizer could positively enhance the development of pollen at grain filling, increasing fertility inflorescences, grain filling, and total grain yield. However, the mechanism and response of rice under lime application and boron fertilization application are still unknown. Further experiment with various rice varieties and growing conditions are necessary to be confirmed for the beneficial use of boron fertilizer on yield improvement for farmers' practice. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ปุ๋ยโบรอน | en_US |
dc.title | ผลของการใส่ปุ๋ยโบรอนต่อการดูดใช้โบรอนและการสร้างผลผลิตในข้าวพันธุ์สันป่าตอง 1 ที่ปลูกใน 2 พื้นที่ | en_US |
dc.title.alternative | Effects of Boron fertilizer applications on Boron uptake and yield production in ‘Sanpatong 1’ rice variety grown at 2 different locations | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ข้าว -- ปุ๋ย | - |
thailis.controlvocab.thash | ข้าว -- การปลูก | - |
thailis.controlvocab.thash | ข้าว -- การเจริญเติบโต | - |
thailis.controlvocab.thash | ข้าว -- พันธุ์สันป่าตอง 1 | - |
thailis.controlvocab.thash | ข้าว -- การปรับปรุงพันธุ์ | - |
thailis.controlvocab.thash | ข้าว -- ผลกระทบจากโบรอน | - |
thailis.controlvocab.thash | พืช -- ผลกระทบจากโบรอน | - |
thailis.controlvocab.thash | โบรอน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | โบรอนเป็นธาตุอาหารจำเป็นสำหรับการเจริญเติบโตและพัฒนาการ ของพืช มีบทบาทสำคัญใน การพัฒนาของละอองเรณูใน ระยะผสมเกสรให้สมบูรณ์ ช่วยให้ช่อดอกมีความอุดมสมบูรณ์ ไม่เป็น หมัน ส่งผลทำให้รวงติดเมล็ดมาก และผลผลิตเมล็ดเพิ่มขึ้น มีรายงานการสำรวจพบว่าประมาณ 80 ประเทศ ทั่วโลกมีผลผลิตของพืชชนิดต่าง ๆ ลดลง สาเหตุมาจากการขาดโบรอนในดิน ดังนั้น การใส่ ปุ๋ยโบรอนน่าจะเป็น วิธีที่ช่วยแก้ไขผลผลิตต่ำที่เกิดจากการขาดธาตุโบรอนในดินได้ อย่างไรก็ตาม การศึกษาเพื่อประเมินอิทธิพลของปุ๋ยโบรอนต่อการดูดใช้และการสร้างผลผลิตในพืชเศรษฐกิจสำคัญ อย่างข้าวยังมีน้อยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับพืชชนิคอื่นๆ การทดลองนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ ประเมินผลของการใส่ปุ๋ยโบรอนต่อการดูดใช้โบรอนและการ สร้างผลผลิตในข้าวพันธุ์สันป่าตอง 1 การศึกษานี้แบ่งออกเป็น 2 การทคลอง การทดลองที่ 1 การประเมินผลของรูปแบบการใส่ปุ๋ย โบรอนต่อการคูดใช้โบรอนและการสร้างผลผลิตใน ข้าวพันธุ์สันป่าตอง เ ที่ปลูกใน 2 พื้นที่ ได้แก่ แปลงที่ 1 ทดลองที่ศูนย์วิจัยสาธิตและฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และแปลงที่ 2 ที่แปลงเกษตรกร หมู่บ้านสันป่าเปา อำเภอสันทราย จังหวัด เชียงใหม่ แต่ละแปลงทดลองวางแผนการทดลองและมีกรรมวิธีการทคลองเหมือนกันทุกประการ โดย วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ในบลอค (Randomize Complete Block Design; RCBD) มี กรรมวิธีในการจัดการปุ๋ยโบรอนในรูปแบบที่แตกต่างกันทั้งหมด 8 กรรมวิธี ทดลองซ้ำกรรมวิธีละ 4 ซ้ำ พันธุ์ข้าวที่ใช้ทดสอบคือ สันป้าตอง เ โดยกรรมวิธีที่ เ เป็นวิธีการควบคุม กรรมวิธีที่ 2-7 เป็นการ ใส่ปุ๋ยโบรอนทางดินชนิดต่าง ๆ ก่อนปักดำ 1 วัน ส่วนในกรรมวิธีที่ 8 เป็นกรรมวิธีการพ่นปุ๋ยโบรอน ทางใบ โดยพ่น 2 ครั้ง ที่ระยะออกดอกและระยะน้ำนม พบว่าข้าวที่ปลูกในแปลงสันทรายมีผลผลิต เมล็ดสูงกว่าแปลงมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แต่ไม่พบความแตกต่างของกรรมวิธีการจัดการปุยโบรอนต่อ ผลผลิตเมล็ดของทั้งสองแปลง ในขณะที่การจัดการใส่ปุ๋ยโบรอนในรูปแบบ Etidot-67 ที่แปลง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ทำให้น้ำหนักแห้งฟาง และเปอร์เซ็นต์เมล็ดดีเพิ่มขึ้น แต่ไม่มีอิทธิพลต่อผลผลิต เมล็ด ซึ่งตรงกันข้ามกับแปลงที่สันทรายที่พบว่ามีน้ำหนักแห้งฟางลดลง เมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธี การควบคุม ในขณะเดียวกันพบว่าการจัดการใส่ปุ๋ยโบรอนในรูปแบบ Granular Boraks Pentahydrate และ Granular Colemanite ที่แปลงมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ทำให้น้ำหนักแห้งฟาง จำนวนหน่อต่อกอ และจำนวนรวงต่อกอเพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีการควบคุม อีกทั้งยังพบว่าการจัดการใส่ปุ๋ย โบรอนในรูปแบบ Boric Acid ที่แปลงมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ทำให้เปอร์เซ็นต์เมล็คดีเพิ่มขึ้น เมื่อ เปรียบเทียบกับกรรมวิธีการควบคุม และนอกจากนี้พบว่า การพ่นปุ๋ยโบรอน Etidot-67 ที่แปลง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทำให้จำนวนหน่อต่อกอ จำนวนรวงต่อกอ และเปอร์เซ็นต์เมล็ดดีเพิ่มขึ้น เปรียบเทียบกับกรรมวิธีการ ควบคุม และรูปแบบการใส่ปุ๋ยโบรอนยังมีผลต่อความเข้มขัน โบรอนที่สะสมในเนื้อเยื่อต่าง ๆ โดย พบว่า ปุ๋ยโบรอน Borax Pentahydrate power มีโบรอนสะสมในลำต้นสูงที่สุด แต่ไม่พบความแตกต่าง ระหว่างแหล่งที่ปลูกต่อความเข้มข้นโบรอนที่สะสมในลำต้น ในขณะที่ใส่ปุ๋ยโบรอน Granular Colemanite ที่แปลงมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ทำให้มีความเข้มข้นของโบรอนที่สะสมในใบและใบธงสูง ที่สุด ในทางกลับกันพบว่า การใส่ปุ๋ยโบรอนในรูปแบบ Borax Pentahydrate power ที่แปลงสันทราย ทำให้มีความเข้มข้นของโบรอนที่สะสมในใบและใบธงสูงที่สุด จากการทดลองข้างต้นพบว่า การ จัดการปุ๋ยโบรอนในรูปแบบ Borax Pentahydrate power, Boric Acid และ Granular Colemanite ส่งผล ให้น้ำหนักแห้งฟาง จำนวนหน่อต่อกอ จำนวนรวงต่อกอ และเปอร์เซ็นต์เมล็ดดีเพิ่มขึ้น บ่งชี้ว่าการ สะสมโบรอนในเนื้อเยื่อต่าง ๆ มีผลทำให้น้ำหนักแห้งฟาง จำนวนหน่อต่อกอ จำนวนรวงต่อกอ และ เปอร์เซ็นต์เมล็คดีเพิ่มขึ้น แค่การสะสมโบรอนในเนื้อเยื่อ อาจจะ ไม่เพียงพอต่อการติดเมล็ดและเพิ่ม ผลผลิต นอกจากนี้การดูดใช้โบร้อนทั้งหมดในข้าวสันป้าตอง เ ที่ปลูกแปลงมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และแปลงสันทราย พบว่า ปริมาณการดูดใช้โบรอนทั้งหมดในแปลงสันทรายที่มีความเข้มข้น 5.3 มิลลิกรัมต่อตารางเมตร มากกว่าแปลงมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีความเข้มข้น 4.4 มิลลิกรัมต่อตาราง เมตร ซึ่งเพิ่มขึ้น 1.2 เท่า และยังพบว่า กรรมวิธีการจัดการปุ้ยโบรอนในรูปแบบ Boras Pentahydrate power, Boric Acid และ Granular Colemanite ส่งผลให้ปริมาณการดูดใช้โบรอนทั้งหมดเพิ่มขึ้นอยู่ ในช่วง 5.4-6.0 มิลลิกรัมต่อตารางเมตร ซึ่งมากกว่าการดูดใช้ในกรรมวิธีที่ไม่ได้ใส่โบรอนเลยที่มีค่า 4.1 มิลลิกรัมต่อตารางเมตร ผลการศึกษายืนยันว่า การใส่ปุ๋ยโบรอนในข้าวในสภาพแวดล้อมที่ แตกต่างกัน โดยเฉพาะความอุดมสมบูรณ์ของดิน ทำให้มีการดูดใช้ การลำเลียง และการสะสมโบรอน ในต้นข้าวที่แตกต่างกัน แม้ไม่พบว่ามีอิทธิพลต่อผลผลิตข้าว การทดลองที่ 2 การประเมินผลของการใส่ปูนขาว และกรรมวิธีการจัดการปุ๋ยโบรอนต่อการดูด ใช้โบรอนและการสร้างผลผลิตในข้าวพันธุ์สันป่าตอง 1 โดยทดลอง ณ ศูนย์วิจัยสาธิตและฝึกอบรม การเกษตรแม่เหียะ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทดลองในกระถาง จัดชุดการทดลอง แบบ Factorial ในแผนการทคลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) มี 2 ปัจจัย ปัจจัยที่ 1 กรรมวิธีการใส่ปูนขาว คือ ไม่ใส่ปูนขาว และใส่ปูนขาวในอัตรา 12 กรัมต่อกระถาง (2 ตันต่อเฮกตาร์) ปัจจัยที่ 2 กรรมวิธีการจัดการปุ๋ยโบรอน แบ่งเป็น 4 กรรมวิธี คือ ไม่ใส่ปุ๋ยโบรอน ใส่ปุ๋ยโบรอนทาง ดิน ใส่ปุ๋ยโบรอนทางใบ และ ใส่ปุ๋ยโบรอนทางดิน+ทางใบ โดยทำการทคลองกรรมวิธีละ 3 ซ้ำ พันธุ์ ข้าวที่ใช้ทดสอบคือ สันป่าตอง 1 พบว่า การใส่ปุ๋ยโบรอนทางดินร่วมกับทางใบให้กับข้าวพันธุ์สันป่า ตอง ที่ปลูกภายให้สภาพดินที่ใส่ปูนขาวส่งผลให้ผลผลิตเมล็ดเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่า การใส่ปุ๋ย โบรอนทางดินและทางใบในสภาพที่ไม่ใส่ปูนขาวทำให้จำนวนหน่อต่อต้นและจำนวนรวงต่อต้น เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับการไม่ใส่ปุ๋ยโบรอน และพบว่า ข้าวที่ปลูกภายใต้สภาพดินที่ไม่ใส่ปูนขาวมีดัชนี การเก็บเกี่ยว และน้ำหนัก 1,000 เมล็ด ลดลงเมื่อใส่ปุ๋ยโบรอนทางดินร่วมกับทางใบ ในขณะที่ข้าวที่ ปลูกภายให้สภาพดินที่ ใส่ปูนขาว พบเปอร์เซ็นต์เมล็ดดีเพิ่มขึ้น และนอกจากนี้ข้าวที่ปลูกภายใต้สภาพ ดินที่ไม่ใส่ปูนขาวและใส่ปูนขาว ที่ใส่ปุ๋ยโบรอนทางดินร่วมกับทางใบ ใส่ปุ๋ยโบรอนทางดิน และการ ใส่ปุ๋ยโบรอนทางใบ ส่งผลให้เปอร์เซ็นด์เมล็ดที่มีการผสมติดเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับการไม่ใส่ปุ๋ย โบรอน ซึ่งชี้ให้เห็นว่า การใส่ปูนขาว และการใส่ปุ๋ยโบรอน ส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของผลผลิตเมล็ด อย่างชัดเจน เมื่อพิจารณาความเข้มข้นของโบรอนที่สะสมในส่วนต่าง ๆ ของต้นข้าว พบว่าข้าวที่ปลูก ภายใต้สภาพดินที่ไม่ใส่ปูนขาว การใส่ปุ๋ยโบรอนทางใบมีความเข้มข้นโบรอนที่สะสมในลำต้นและ ใบธงเพิ่มขึ้น ในขณะเดียวกันการใส่ปุ๋ยโบรอนทางดินและ ใส่ปุ๋ยโบรอนทางดินร่วมกับทางใบ มีความ เข้มข้นโบรอนที่สะสมในใบและใบธงเพิ่มขึ้น ในส่วนของข้าวที่ปลูกภายใด้สภาพดินที่ใส่ปูนขาว พบว่าการใส่ปุ๋ยโบรอนทางดิน มีความเข้มข้น โบรอนที่สะสมในใบเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่า การใส่ ปุ๋ยโบรอนทางใบ และใส่ปุ๋ยโบรอนทางดินร่วมกับทางใบ มีความเข้มข้นโบรอนที่สะสมในใบ ใบธง และเมล็ดเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับการไม่ใส่ปุ๋ยโบรอน จากผลการทดลองข้างต้นแสดงให้เห็นว่าการปลูก ข้าวภายให้สภาพดินที่ใส่ปูนขาว และการใส่ปุ๋ยโบรอน มีผลต่อความเข้มข้นโบรอนที่สะสมในเนื้อเยื่อ ต่าง ๆ ได้ดีกว่าการปลูกข้าวภายใต้สภาพดินที่ใส่ปูนขาว ทำให้ส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของผลผลิตเมล็ด อีกทั้งยังพบว่าข้าวที่ปลูกภายใด้สภาพดินที่ไม่ใส่ปูนขาว พบว่าการใส่ปุ๋ยโบรอนทางใบมีปริมาณธาตุ โบรอนที่สะสมในลำต้นและใบธงเพิ่มขึ้น และการใส่ปุ๋ยโบรอนทางดินและใส่ปุ๋ยโบรอนทางดิน ร่วมกับทางใบ มีปริมาณธาตุโบรอนที่สะสมในใบและใบธงเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับการไม่ใส่ปุ๋ยโบรอน ในขณะที่ข้าวที่ปลูกภายใด้สภาพดินที่ใส่ปูนขาว พบว่าการใส่ปุ้ยโบรอนทางดิน มีปริมาณ ธาตุโบรอน ที่สะสมในใบเพิ่มขึ้น และใส่ปุ้ยโบรอนทางใบ มีปริมาณธาตุโบรอนที่สะสมในใบ ใบธง และเมล็ด เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่าใส่ปุ๋ยโบรอนทางดินร่วมกับทางใบ มีปริมาณธาตุโบรอนที่สะสมในเมล็ด เพิ่มขึ้นอีกด้วย เมื่อเทียบกับการไม่ใส่ปุ๋ยโบรอน ซึ่งบ่งชี้ว่าการใส่ปูนขาวร่วมกับโบรอน ทำให้ข้าวมี การตอบสนองดังกล่าวเป็นไปได้ว่าการใส่ปูนขาวนั้นทำให้ดินมีความอุคมสมบูรณ์และธาตุอาหารใน ดินเพิ่มมากขึ้น และพบความสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างผลผลิตและเปอร์เซ็นต์เมล็ดดี แสดงว่าการใส่ ปูนขาว และกรรมวิธีการจัดการปุ๋ยโบรอนมีส่วนช่วยในการพัฒนาของละอองเรณูในระยะผสมเกสร ให้สมบูรณ์ ช่วยให้ช่อดอกมีความอุดมสมบูรณ์ ไม่เป็นหมัน ส่งผลทำให้รวงคิดเมล็ดมากขึ้น อย่างไรก็ ตาม การศึกษาและวิจัยเพื่อประเมินอิทธิพลของการใส่ปูนขาว และกรรมวิธีการจัดการปุ๋ยโบรอนต่อ การดูดใช้และการสร้างผลผลิตในข้าวยังมีน้อยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับพืชชนิดอื่น ๆ จึงควรมี การศึกษาเพื่อการยืนยันผลการทดลองในสภาพแปลงและพันธุ์ข้าวอื่น ๆ ด้วย ซึ่งจะเป็นประโยชน์ อย่างมากสำหรับการจัดการปุ๋ยโบรอนเพื่อการปรับปรุงผลผลิตในข้าวต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | AGRI: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620831002 จินตนา สงค์ศรีอินทร์.pdf | 1.38 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.