Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79094
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชมพูนุท ศรีรัตน์-
dc.contributor.advisorทิพาพร วงศ์หงษ์กุล-
dc.contributor.advisorอิ่มใจ ชิตาพนารักษ์-
dc.contributor.authorสาธิยา ใจแกวen_US
dc.date.accessioned2023-10-21T07:10:56Z-
dc.date.available2023-10-21T07:10:56Z-
dc.date.issued2020-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79094-
dc.description.abstractPatients with head and neck cancer undergoing concurrent chemoradiotherapy suffer from various symptoms including oral pain, xerostomia, and dysphagia. These may impact the physical, psychological, social, and spiritual aspects of a patient’s life. Therefore, patients may seek continual symptom management to relieve these symptoms. This descriptive research to study looked at the management of oral pain, xerostomia and dysphagia among patients with head and neck cancer undergoing concurrent chemoradiotherapy. The participants consisted of patients with head and neck cancer undergoing concurrent chemoradiotherapy at the Radiotherapy Unit, in the Outpatient Department of Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital between January and August 2020. The participants (n=137) were purposively selected and completed two instruments, which were 1) the General Data Record form, and 2) the Symptoms Management of oral pain, xerostomia and dysphagia Interview form of patients with head and neck cancer undergoing concurrent chemoradiotherapy. Data were analyzed using descriptive statistics The result revealed that: The participants applied several methods to manage 3 symptoms, including: 1) oral pain, which was managed by fluid intake (100.00%), oral rinses (98.50%), dietary management by consuming watery, soft and digestible foods (98.50%), avoiding alcohol or beer (98.50%) and avoiding smoking (98.50%) 2) xerostomia, which was managed by fluid intake (100.00%), avoiding smoking (99.30%), oral rinses (98.50%), dietary management by consuming soft watery foods (98.50%) and sipping water (90.50%) and 3) dysphagia was managed through dietary management including consuming soft foods and easily chewable foods (99.30%), eating more frequently and smaller meals (89.80%), fluid intake during meals (81.00%), using oral nutrition support (73.00%), and swallowing exercises (35.80%) The results of this research will provide basic information for nurses and health professionals and may be of guidance when appropriately and efficiently planning care or recommending treatments for oral pain, xerostomia and dysphagia in patients with head and neck cancer undergoing concurrent chemoradiotherapy.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับเคมีบำบัดและรังสีรักษาen_US
dc.title.alternativeSymptom management among patients with head and neck carcinoma undergoing concurrent chemoradiotherapyen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashมะเร็ง -- ผู้ป่วย-
thailis.controlvocab.thashมะเร็ง -- การรักษา-
thailis.controlvocab.thashมะเร็ง -- ภาวะแทรกซ้อน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับเคมีบำบัดและ รังสีรักษาต้องเผชิญกับอาการทุกข์ทรมานได้แก่ อาการปวดภายในช่องปาก ปากแห้งและกลืนลำบาก ซึ่งส่งผลกระทบทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ ดังนั้นผู้ป่วยจึงต้องมีการแสวงหาวิธีการจัดการอาการ เพื่อบรรเทาอาการที่ เผชิญอย่างต่อเนื่อง การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบเชิงพรรณนา (descriptive research) เพื่อศึกษาการ จัดการอาการปวดภายในช่องปาก ปากแห้ง และกลืนลำบากในผู้ป่ายมะเร็งศีรษะและคอที่ ได้รับเคมี บำบัดและรังสีรักษา กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่ายโรคมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับเคมีบำบัดและรังสีรักษาที่ เข้ารับบริการที่ หน่วยรังสีรักษาแผนกผู้ป่ายนอก โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ระหว่างเดือน มกราคม ถึง สิงหาคม พ.ศ.2563 เลือกกลุ่มตัวอย่างตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ จำนวน 137 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ 1) แบบสัมภาษณ์ข้อมูลพื้นฐานส่วนบุคคล 2) แบบสัมภาษณ์การจัดการ อาการปวดภายในช่องปาก อาการปากแห้ง และอาการกลืนลำบาก ในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่ ได้รับเคมีบำบัดและรังสีรักษา วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติบรรยาย ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีวิธีการจัดการอาการทั้ง 3 อาการ ดังนี้ วิธีการจัดการที่กลุ่มตัวอย่างใช้จัดการอาการ ปวดภายในช่องปากได้แก่ ดื่มน้ำ (ร้อยละ 100.00) บ้วนปาก (ร้อยละ 98.50) ปรับเปลี่ยนด้าน โภชนาการ โดยรับประทานอาหารน้ำ อาหารอ่อนย่อยง่าย (ร้อยละ 98.50) ไม่ดื่มสุราหรือเบียร์ (ร้อยละ 98.50) และไม่สูบบุหรี่ (ร้อยละ 98.50) วิธีการจัดการที่กลุ่มตัวอย่างใช้จัดการอาการปากแห้ง ได้แก่ ดื่มน้ำ (ร้อยละ 100.00) ไม่สูบบุหรี่ (ร้อยละ 99.30) บ้วนปาก (ร้อยละ 98.50) ปรับเปลี่ยนด้านโภชนาการ โดยรับประทานอาหารอ่อนหรืออาหารน้ำ (ร้อยละ 98.50) และจิบน้ำ (ร้อยละ 90.50) วิธีการจัดการที่ กลุ่มตัวอย่างใช้จัดการอาการกลืนลำบาก ได้แก่ ปรับเปลี่ยนด้านโภชนาการ โดยรับประทานอาหาร อ่อนนุ่ม และเคี้ยวง่าย (ร้อยละ 99.30 รับประทานทีละน้อยแต่บ่อยครั้ง (ร้อยละ 89.80) ดื่มน้ำในช่วง ระหว่างรับประทานอาหาร (ร้อยละ 81.00) รับประทานอาหารเสริม (ร้อยละ 75.20) และออกกำลัง กล้ามเนื้อที่ช่วยในการเคี้ยวอาหาร (ร้อยละ 35.80) ผลการวิจัยครั้งนี้จะเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับพยาบาลและบุคลากรสุขภาพและอาจจะเป็น แนวทางในการวางแผนการดูแล หรือให้คำแนะนำการรักษาอาการปวดภายในช่องปาก ปากแห้งและ กลืนลำบากในผู้ป่ายมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดและรังสีรักษาได้อย่าง เหมาะสมและมีประสิทธิภาพต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601231016 สาธิยา ใจแก้ว.pdf7.83 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.