Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79061
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Napat Jakrawatana | - |
dc.contributor.advisor | Patiroop Pholchan | - |
dc.contributor.advisor | Pimluck Kijjanapanich | - |
dc.contributor.author | Wanida Suriyanon | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-15T07:52:40Z | - |
dc.date.available | 2023-10-15T07:52:40Z | - |
dc.date.issued | 2023-08-01 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79061 | - |
dc.description.abstract | Due to increasing demand, Thailand is moving towards using lithium-ion batteries for electric cars, causing future battery waste management problems. The study aims to conduct a strategic environmental impact assessment on the disposal of used electric vehicle batteries, and determine appropriate methods for managing current and future battery waste in Thailand. Additionally, the study will provide recommendations for policy-making and a roadmap for a sustainable circular economy in the battery industry. Lastly, an integrated framework for Material Flow Analysis (MFA) and Strategic Environmental Assessment (SEA) will be developed for battery waste management. The study was conducted in three stages, namely Material Flow Analysis (MFA), Strategic Environmental Impact Assessment (SEA), and Policy Recommendation. The MFA study revealed that Thailand's annual lead production stands at 160,747 tons, largely due to the widespread use of lead-acid batteries in internal combustion vehicles. The country is grappling with a surge in illegally managed waste, which is attributed to the insufficient number of recycling plants. To tackle this problem and curb future waste accumulation, Thailand should mull over enacting a law to facilitate the proper disposal of battery remnants or augment the number of battery recycling factories. In the management of Ni-MH batteries for HEV/PHEV vehicles, we found that Thailand uses virgin and recycled cells to produce Ni-MH batteries for HEV/PHEV vehicles, using tons of nickel per year. With more hybrid cars, they may need to build more factories and incinerators for battery management. No Ni-MH batteries are left as waste. In the management of lithium ion batteries for EV it has been discovered that the number of electric cars in Thailand by 2022 and 2030 will not be significant without a cost-effective recycling plant for lithium-ion batteries used in EV. If the construction takes place after 2038, it will be profitable. The integration of MFA and SEA simplifies the process of validating the outcome and provides a comprehensive overview for better visualization. According to the study, it is suggested that Thailand should establish streamlined laws and EPR technology, set up a battery recycling facility, explore new technologies for recycling different kinds of batteries, concentrate on increasing the production of clean energy, and adopt the electric vehicle parts manufacturing industry | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.subject | ฺBatteries waste management | en_US |
dc.subject | Circular economy | en_US |
dc.subject | Material flow analysis | en_US |
dc.subject | Strategic environmental assessment | en_US |
dc.subject | Electric vehicles | en_US |
dc.title | Development of batteries waste management system in Thailand toward circular economy | en_US |
dc.title.alternative | การพัฒนาระบบการจัดการซากแบตเตอรี่แบบเศรษฐกิจหมุนเวียนของประเทศไทย | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Electric automobiles -- Batteries | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Motor vehicles -- Batteries | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Electric batteries -- Management | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Battery industry -- Management | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Recycled products | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ประเทศไทยกำลังมุ่งสู่การเปลี่ยนผ่านมาใช้รถยนต์ไฟฟ้าเพิ่มมากขึ้น มีการใช้แบตเตอรี่ลิเธียมไอออนสำหรับรถยนต์ไฟฟ้า ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาการจัดการซากแบตเตอรี่ในอนาคต การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์เกี่ยวกับการจัดการซากแบตเตอรี่รถยนต์ไฟฟ้าใช้แล้ว และหาวิธีการที่เหมาะสมในการจัดการซากแบตเตอรี่ในปัจจุบันและอนาคตของประเทศไทย นอกจากนี้การศึกษานี้ได้ให้คำแนะนำสำหรับการกำหนดนโยบายและแผนงานสำหรับเศรษฐกิจหมุนเวียนที่ยั่งยืนในอุตสาหกรรมแบตเตอรี่ รวมทั้งได้จัดทำกรอบการทำงานแบบบูรณาการสำหรับการวิเคราะห์การไหลของวัสดุ และการประเมินสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ สำหรับการพัฒนาการจัดการซากแบตเตอรี่ การศึกษาได้ดำเนินการใน 3 ขั้นตอน ได้แก่ การวิเคราะห์การไหลของวัสดุ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ และข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ผลการศึกษาของการวิเคราะห์การไหลของวัสดุแบตเตอรี่ตะกั่วกรด พบว่าประเทศไทยมีการผลิตแบตเตอรี่ตะกั่วอยู่ที่ 160,747 ตัน สาเหตุหลักมาจากการใช้แบตเตอรี่ตะกั่วกรดอย่างแพร่หลายในรถยนต์สันดาปภายใน ประเทศกำลังประสบปัญหากับปริมาณซากแบตเตอรี่จำนวนมากที่มีการจัดการอย่างผิดกฎหมาย ซึ่งมีสาเหตุมาจากจำนวนโรงงานรีไซเคิลที่ไม่เพียงพอ ดังนั้นเพื่อแก้ไขปัญหาการจัดการซากแบตเตอรี่และลดการสะสมของซากแบตเตอรี่ในอนาคต ประเทศไทยควรพิจารณาการออกกฎหมายเพื่ออำนวยความสะดวกในการกำจัดซากแบตเตอรี่อย่างเหมาะสมหรือเพิ่มจำนวนโรงงานรีไซเคิลแบตเตอรี่ ส่วนการจัดการแบตเตอรี่นิกเกิลเมทัลไฮไดร์สำหรับรถยนต์ไฮบริค พบว่าประเทศไทยยังไม่มีการรีไซเคิลซากแบตเตอรี่นิกเกิลเมทัลไฮไดร์สำหรับรถยนต์ไฮบริค เมื่อมีรถยนต์ไฮบริดมากขึ้น ประเทศไทยควรสร้างโรงงานรีไซเคิลแบตเตอรี่ในประเทศไทยเพื่อการจัดการซากแบตเตอรี่ส่วนการจัดการแบตเตอรี่ลิเธียมไอออนสำหรับรถยนต์ไฟฟ้า พบว่าจำนวนรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทยภายในปี พ.ศ. 2565 และ พ.ศ. 2573 ยังมีปริมาณไม่มากซึ่งยังไม่คุ้มในการสร้างโรงงานรีไซเคิล หากมีการก่อสร้างโรงงานรีไซเคิลแบตเตอรี่หลังปี 2581 จะเกิดการคุ้มทุนในการก่อสร้างโรงงานจะสามารถทำกำไรได้ การบูรณาการระหว่างการวิเคราะห์การไหลของวัสดุ และการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ ช่วยทำให้ได้ผลที่มีคุณภาพและมีความถูกต้องได้ผลลัพธ์ง่ายขึ้น และให้เห็นภาพรวมที่ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น จากการศึกษาพบว่าประเทศไทยควรกำหนดกฎหมายเช่น หลักการความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้นของผู้ผลิต (Extended Producer Responsibility) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการซากแบตเตอรี่และส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียน รวมทั้งจัดตั้งโรงงานรีไซเคิลแบตเตอรี่ และควรมีการสำรวจเทคโนโลยีใหม่สำหรับการรีไซเคิลแบตเตอรี่ประเภทต่างๆ เพื่อมุ่งเน้นการเพิ่มการผลิตพลังงานสะอาด และการนำชิ้นส่วนรถยนต์ไฟฟ้ามาใช้อุตสาหกรรมการผลิต | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600651024-Wanida suriyanon.pdf | 3.16 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.