Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79037
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภาสกร เตวิชพงศ์ | - |
dc.contributor.author | นเรนทร์ฤทธิ์ คำภีระนันท์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-15T04:01:47Z | - |
dc.date.available | 2023-10-15T04:01:47Z | - |
dc.date.issued | 2566-06-15 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79037 | - |
dc.description.abstract | ABSTRACT This independent study aimed to (1) examine the relationship between emotional labor and job burnout of registered nurses, and (2) investigate the moderating roles of perceived supervisor and co-worker supports towards the relationship between emotional labor and job burnout of registered nurses. The research samples were 200 full-time registered nurses working for both private and public hospitals in Mueang District, Chiang Rai Province. They were selected using purposive sampling. The research instruments employed in the study were (1) the Emotional Labor Scale (2) the Job Burnout Scale (3) the Perceived Supervisor Support Scale (4) the Perceived Co-Worker Support Scale and (5) Demographic Data. Data were analyzed by using descriptive statistics and inferential statistics. The PROCESS Macro program was used to test the hypotheses regarding the moderation effects. The research findings were as follows: (1) emotional labor had a significantly negative correlation with job burnout at the .01 level (r = -.216). (2) perceived supervisor support was significantly moderated towards the relationship between emotional labor and job burnout of registered nurses. (3) perceived co-worker support was significantly moderated towards the relationship between emotional labor and job burnout of registered nurses. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | พยาบาลวิชาชีพ | en_US |
dc.subject | การกำกับอารมณ์ในงาน | en_US |
dc.subject | ภาวะหมดไฟในงาน | en_US |
dc.subject | การรับรู้การสนับสนุนจากหัวหน้างาน | en_US |
dc.subject | การรับรู้การสนับสนุนจากเพื่อนร่วมงาน | en_US |
dc.subject | ภาวะหมดไฟ | en_US |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับอารมณ์ในงานและภาวะหมดไฟในงานของพยาบาลวิชาชีพ : บทบาทการเป็นตัวแปรปรับของการรับรู้การสนับสนุนจากหัวหน้างานและการรับรู้การสนับสนุนจากเพื่อนร่วมงาน | en_US |
dc.title.alternative | Relationship between emotional labor and job burnout of registered nurses: the moderating roles of perceived supervisor and co-worker supports | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | พยาบาล -- ความเครียดในการทำงาน | - |
thailis.controlvocab.thash | ความเครียดในการทำงาน | - |
thailis.controlvocab.thash | ความเครียด (จิตวิทยา) | - |
thailis.controlvocab.thash | การทำงาน -- แง่จิตวิทยา | - |
thailis.controlvocab.thash | อารมณ์ | - |
thailis.controlvocab.thash | พยาบาล -- เชียงราย | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงพยาบาล -- เชียงราย | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับอารมณ์ในงานกับภาวะหมดไฟในงานของพยาบาลวิชาชีพ และ (2) ศึกษาบทบาทการเป็นตัวแปรปรับของการรับรู้การสนับสนุนจากหัวหน้างานและเพื่อนร่วมงานที่มีต่อความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับอารมณ์ในงานกับภาวะหมดไฟในงานของพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงรายทั้งโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชน เป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานเต็มเวลาเท่านั้นและปฏิบัติงานในองค์การมาไม่น้อยกว่า 1 ปีขึ้นไป จำนวน 200 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ (1) แบบวัดการกำกับอารมณ์ในงาน (2) แบบวัดภาวะหมดไฟในงาน (3) แบบวัดการรับรู้การสนับสนุนจากหัวหน้างาน (4) แบบวัดการรับรู้การสนับสนุนจากเพื่อนร่วมงาน และ (5) แบบสอบถามคุณลักษณะส่วนบุคคล สถิติที่ใช้ได้แก่ สถิติเชิงพรรณาและสถิติเชิงอนุมานเพื่อทดสอบสมมติฐานและศึกษาอิทธิพลปรับด้วยโปรแกรม PROCESS Macro ผลการวิจัยพบว่า (1) การกำกับอารมณ์ในงานมีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะหมดไฟในงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = -.216) (2) การรับรู้การสนับสนุนจากหัวหน้างานมีบทบาทเป็นตัวแปรปรับระหว่างการกำกับอารมณ์ในงานกับภาวะหมดไฟในงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (3) การรับรู้การสนับสนุนจากเพื่อนร่วมงานมีบทบาทเป็นตัวแปรปรับระหว่างการกำกับอารมณ์ในงานกับภาวะหมดไฟในงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600132045-NARAINRIT KHUMPEERANAN.pdf | 1.86 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.