Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79033
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐวุฒิ อรินทร์-
dc.contributor.authorพรเลิศ ชุตินธรางค์กูลen_US
dc.date.accessioned2023-10-15T03:40:13Z-
dc.date.available2023-10-15T03:40:13Z-
dc.date.issued2018-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79033-
dc.description.abstractThe Objectives of this research is to study the Influence of Social Network Usage and Health Perception on Subjective Well-Being of Retirees .The questionnaire consist of social network usage questionnaire and health perceptionquestionnaire and subjective well-being questionnaire. The study finding reveal social network usage and health perception together can explain 11.60 % of variance of subjective well-being of retirees with significant statistic value at .01 level. Predictably the most is health perception (β =.241) explained 9%. Secondly is social network Usage (β =.170) explained 2.50%. Furthermore the interview have finding other factor of subjective well-being in retirees. The other factor of subjective well-being in retirees consist of good relationship, self and family health, hobby, peacefulness andresidence. The result of this study indicate that providing retirees information including news interesting information and health article can increase subjective well-being in retirees. The result of this study provide use to support subjective well-being in retirees by including news and interesting information for retirees use that information to be benefit for themselves. And including healthinformationby social networkfor retirees to perceive health risks and knownhow to avoid things that negatively affect in health and care for health. Therefore retirees will have good health and increase of subjective well-beingen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleอิทธิพลของการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์และการรับรู้ภาวะสุขภาพ ที่มีต่อความผาสุกทางใจของผู้เกษียณอายุen_US
dc.title.alternativeInfluence of social network usage and health perception on subjective well-being of retireesen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการเกษียณอายุ-
thailis.controlvocab.thashผู้เกษียณอายุ-
thailis.controlvocab.thashความสุข-
thailis.controlvocab.thashเครือข่ายสังคมออนไลน์-
thailis.controlvocab.thashสุขภาวะ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการวิจัยเพื่อศึกษาอิทธิพลของตัวเเปรที่มีต่อความผาสุกทางใจ ของผู้เกษียณอายุ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสอบถามการ ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ แบบสอบถามการรับรู้ภาวะสุขภาพ และแบบสอบถามความผาสุกทางใจ ผลการวิจัยพบว่า การใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ และการรับรู้ภาวะสุขภาพ มีอิทธิพลทำนายทางบวกต่อความผาสุกทางใจของ ผู้เกษียณอายุ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01 และสามารถทำนายความผาสุกทางใจร่วมกันได้ร้อยละ 11.60 โดยการรับรู้ภาวะสุขภาพเป็นปัจจัยที่ทำนายได้มากที่สุด (β =.241) โดยอธิบายได้ร้อยละ 9.00 รองลงมาคือ การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (β =.170) โดยอธิบายได้ร้อยละ 2.50 และจากการ สัมภาษณ์พบว่ามีปัจจัยอื่นที่ส่งเสริมความผาสุกทางใจของผู้เกษียณอายุ ได้แก่ ความสัมพันธ์ที่ดี สุขภาพที่ดีของตนเองและคนรอบตัว งานอดิเรกหรือกิจกรรมยามว่าง ความสงบปล่อยวาง ที่อยู่อาศัย และความสะดวกสบายในการดำเนินชีวิต จากผลการวิจัยสามารถนำไปใช้ในการส่งเสริมความผาสุกทางใจของผู้เกษียณอายุ โดยการ สนับสนุนการให้ข้อมูล ข่าวสาร สิ่งที่น่าสนใจ เพื่อนำข้อมูลจากเครือข่ายสังคมออนไลน์ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์แก่ตนเอง และส่งเสริมให้ข้อมูลด้านสุขภาพผ่านเครือข่ายออนไลน์ เพื่อให้ผู้เกษียณอายุเกิด การรับรู้ความเสี่ยงต่อสุขภาพ รู้วิธีหลีกเลี่ยงสิ่งที่มีผลเสียต่อสุขภาพและเอาใจใส่ดูแลสุขภาพ ทำให้ผู้ เกษียณอายุมีสุขภาพที่ดี เพื่อส่งสริมความผาสุกทางใจหลังเกษียณตามความเหมาะสมมากขึ้นen_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590132079-พรเลิศ ชุตินธรางค์กูล.pdf4.26 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.