Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79020
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิชัย ฉัตรทินวัฒน์-
dc.contributor.authorเอกลักษณ์ มาลาen_US
dc.date.accessioned2023-10-11T11:25:51Z-
dc.date.available2023-10-11T11:25:51Z-
dc.date.issued2566-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79020-
dc.description.abstractThe objectives of this research are to design and develop the grape jelly production process to meet the needs of the elderly. This research applied the Quality Function Deployment (QFD) to analyze and prioritize product specifications which deploy to the ingredients and manufacturing process characteristics. This research applied the principles of Advance Product Quality Planning (APQP) for planning and trial production and record the information in the Production Part Approval Process (PPAP) format. The research started with the application of the QFD technique to analyze requirements of the elderly on the target customers toward grape jelly products, the phase 1 of the QFD. There are 9 issues that should be considered for improvement such as (1)the safety certification standards for consumers (FDA), (2)conformance to the Good Manufacturing Practice (GMP), (3)the certified packaging, (4)selling price, (5)sensory characteristics, (6)the viscosity and toughness of product fitted to swallow of the elderly, (7)amount and ratio of grape juice, (8)low level of sugar and (9)essential nutrients. As for during phase 2 and 3 of the QFD analysis, the key ingredients and production processes of grape jelly for the elderly was found that the amount of grape juice, sugar, and carrageenan are important ingredients that needs to be improved. The research conducted improvement on adjusting the ratio of juice, sugar, and carrageenan using factorial design. This research applied the APQP principle and developed the documents in the PPAP form which have product characteristics in drawing format, and design failure mode and effect analysis. The Approve Vendor list system was created to prevent the purchase of unapproved substitutes used in the production process. The process flow chart design, PFMEA evaluation, and control plan were conducted to control each production process. The measurement system analysis (MSA) was assessed. The trial production has been produced and verified with quality by testing the microbial and heavy metal contaminants.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectQuality Function Deploymenten_US
dc.subjectการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพen_US
dc.subjectการอนุมัติชิ้นส่วนผลิตen_US
dc.subjectเยลลี่องุ่นen_US
dc.titleการประยุกต์ใช้เทคนิคการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพเพื่อพัฒนากระบวนการผลิตเยลลี่องุ่นสำหรับผู้สูงอายุen_US
dc.title.alternativeApplication of quality function deployment technique to develop grape jelly production process for elderen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashองุ่น -- การแปรรูป-
thailis.controlvocab.thashเยลลี่ -- การผลิต-
thailis.controlvocab.thashผลิตภัณฑ์องุ่น-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ -- การตัดสินใจ-
thailis.controlvocab.thashการเลือกซื้อสินค้า-
thailis.controlvocab.thashอุตสาหกรรมอาหาร -- การควบคุมการผลิต-
thailis.controlvocab.thashการควบคุมการผลิต-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและพัฒนากระบวนการผลิตเยลลี่องุ่นให้ตรงกับความต้องการของผู้สูงอายุ โดยประยุกต์ใช้เทคนิคการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพ เพื่อวิเคราะห์และจัดลำดับความสำคัญของข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์และการกระจายไปสู่คุณลักษณะของส่วนผสมและกระบวนการผลิต และประยุกต์ใช้หลักการวางแผนคุณภาพผลิตภัณฑ์ล่วงหน้า ในการวางแผนและทดลองผลิต และบันทึกข้อมูลในรูปแบบเอกสารการอนุมัติชิ้นส่วนผลิต กระบวนการวิจัยเริ่มต้นจากการประยุกต์ใช้เทคนิคการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพ เพื่อวิเคราะห์หาความต้องการของผู้สูงอายุที่มีต่อเยลลี่องุ่น สามารถอธิบายได้จากการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพเฟสที่ 1 ซึ่งพบว่ามี 9 ประเด็นที่ควรพิจารณาปรับปรุงได้แก่ ได้แก่ ผ่านมาตรฐานรับรองความปลอดภัยต่อผู้บริโภค (อย.) ผ่านมาตรฐานรับรองการผลิตที่ดี แสดงมาตรฐานที่ได้รับการรับรองความปลอดภัย ราคาในการจำหน่าย ลักษณะทางประสาทสัมผัส ความเหนียวและความหนืดเหมาะสม ปริมาณน้ำองุ่น ปริมาณน้ำตาลต่ำ เพิ่มสารอาหารที่จำเป็น จากนั้นดำเนินการวิเคราะห์ด้วยเทคนิคการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพเฟสที่ 2 และ 3 พบว่า อัตราส่วนผสมน้ำตาล อัตราส่วนผสมองุ่น อัตราส่วนผสมผงวุ้น กระบวนการคั้นน้ำองุ่น และปริมาณสีผสมอาหารและกลิ่นปรุงแต่ง มีความสำคัญต่อคุณลักษณะผลิตภัณฑ์ ทีมงานวิจัยได้ทำปรับปรุงผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิต ได้แก่ การปรับอัตราส่วนผสมระหว่างน้ำองุ่น น้ำตาล และผงวุ้นคาราจีแนน ด้วยการออกแบบการทดลองแบบแฟกทอเรียล โดยใช้ผลตอบซึ่งเป็นความพึงพอใจทางด้านประสาทสัมผัสดีที่สุด ผู้วิจัยได้ออกแบบด้วยเครื่องคั้นแบบแยกกากระบบเกลียวอัดในกระบวนการคั้นน้ำองุ่น เพื่อลดความเสี่ยงปัญหาด้านกระบวนการผลิตและประยุกต์ใช้หลักการการวางแผนคุณภาพผลิตภัณฑ์ล่วงหน้า และจัดทำเอกสารในรูปแบบของเอกสารการอนุมัติชิ้นส่วนผลิต โดยมีข้อมูลคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ในรูปแบบของแบบกำหนดทางวิศวกรรม มีการประเมินความเสี่ยงและผลกระทบจากการออกแบบ จัดทำระบบการรับรองผู้ขายวัตถุดิบ (Approve Vendor list) ในแผนพัฒนาปรับปรุงเพื่อป้องกันการสั่งซื้อวัตถุทดแทนที่ไม่ได้อนุมัติเข้ามาใช้ในกระบวนการผลิต จัดทำออกแบบผังการไหลของกระบวนการ การประเมินความเสี่ยงและผลกระทบของกระบวนการ และการสร้างแผนภูมิควบคุม ควบคุมกระบวนการผลิตแต่และกระบวนการ รวมถึงการศึกษาความสามารถของกระบวนการด้วยการชั่งน้ำหนักผลิตภัณฑ์สุดท้ายและวิเคราะห์ระบบการวัด ทดลองผลิตและตรวจสอบยืนยันคุณภาพการออกแบบกระบวนการร่วมกับส่งทดสอบปริมาณเชื้อจุลินทรีย์และปริมาณโลหะหนักปนเปื้อนen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.