Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79008
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorณัฐธยาน์ สิทธิ์วรนนท์en_US
dc.date.accessioned2023-10-11T10:32:36Z-
dc.date.available2023-10-11T10:32:36Z-
dc.date.issued2566-06-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79008-
dc.description.abstractThis research aims to study factors that affect staffs in the office of Lampang Attorney General in the decision of using digital technology, study problem and obstacles of using, digital technology in the office of Lampang Attorney and study the method system etc. In order to get must out of using digital technology in the justice system. By using the method of a qualitative research, collecting information by interviewing 26 people specifically, namely choosing 12 public prosecutors and 14 administrative official who involve of use the digital technology in their work. The instrument of this research is semi-structure interview form method. Data was collected by interviewing and analyzed the data by content analysis and analytic induction. The study found that 1) Factors affecting the decision to use digital technology of public prosecutors and administrative officials in the Lampang Provincial Public Prosecutor's Office were personal factors, consisting of job title, job description, assigned duties affecting the use of the electronic justice administration system by all prosecutors and affecting the use of this system by 6 administrative officials, but affecting the use of the electronic case directory system by 5 prosecutors and 14 administrative officials. this system. Perception factors include : policy awareness perceived benefits perceived ease of use, expectation, confidence in the system, skills, knowledge, self-efficacy affects the use of the system by all prosecutors and administrative officials, but the awareness of the readiness of tools and equipment and that the information system does not affect some parts of the prosecutor's use of the system; and Self-efficacy factors were skills, knowledge, ability to use computers, confidence, confidence in the use of the system affecting the use of the system by prosecutors and administrative officials in some parts but trying to learn Satisfaction in the stability of the system, can be used quickly, accurately, complete, and the availability of tools and equipment and the facilities do not affect the use of the system by prosecutors and administrative officials. 2) Problems and obstacles in using digital technology in the operation, consisting of personnel, equipment, information systems, other fields and 3) Guidelines for improvement, correction and development, namely personnel development to have skills and knowledge Proficiency in using the system according to their role allocate modern computers develop a stable information system and to improve the rules and regulations for the use of technology systems to suit the current situation Under the security system for accessing information.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเทคโนโลยีดิจิทัลen_US
dc.subjectสำนักงานอัยการจังหวัดลำปางen_US
dc.subjectบุคลากรen_US
dc.subjectAffecting the Use of Digital Technologyen_US
dc.subjectAttorney General’s Officeen_US
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลของบุคลากรในสำนักงานอัยการจังหวัดลำปางen_US
dc.title.alternativeFactors, affecting the use of digital technology of staffs in The Attorney General’s Office, Lampang Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashสำนักงานอัยการจังหวัดลำปาง -- บุคลากร-
thailis.controlvocab.thashการรู้จักใช้เทคโนโลยี-
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาบุคลากร-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้เทคโนโลยีดิจิทัลของบุคลากรในสำนักงานอัยการจังหวัดลำปาง 2) ปัญหา และอุปสรรคในการนำระบบเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานอัยการจังหวัดลำปาง และ 3) แนวทางในการปรับปรุง แก้ไข และพัฒนา ด้านบุคลากร ด้านอุปกรณ์เครื่องมือ ด้านระบบสารสนเทศ และด้านอื่น ๆ เพื่อให้สามารถนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการอำนวยความยุติธรรมก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลหลัก จำนวน 26 คน โดยใช้วิธีการคัดเลือกแบบเจาะจง โดยเป็นผู้เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสำนวนคดีของสำนักงานอัยการลำปาง ได้แก่ พนักงานอัยการ จำนวน 12 คน และข้าราชการธุรการ จำนวน 14 คน เครื่องมือการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสัมภาษณ์กึ่งมีโครงสร้าง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา และการวิเคราะห์ข้อมูลแบบสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย ผลการศึกษา พบว่า 1) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้เทคโนโลยีดิจิทัลของพนักงานอัยการและข้าราชการธุรการในสำนักงานอัยการจังหวัดลำปาง ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วย ตําแหน่งงาน ลักษณะงาน ภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ส่งผลต่อการใช้ระบบการอำนวยความยุติธรรมอิเล็กทรอนิกส์พนักงานอัยการทุกคนและส่งผลต่อการใช้ระบบนี้ของข้าราชการธุรการ 6 คน แต่ส่งผลต่อการใช้ระบบสารบบคดีอิเล็กทรอนิกส์ของพนักงานอัยการ 5 คน และข้าราชการธุรการทั้ง 14 คน ใช้ระบบนี้ ปัจจัยด้านการรับรู้ ได้แก่ การรับรู้ถึงนโยบาย การรับรู้ถึงประโยชน์ การรับรู้ความง่ายในการใช้งาน ความคาดหวัง ความเชื่อมั่นในระบบ ทักษะความรู้ ความสามารถแห่งตน ส่งผลต่อการใช้งานระบบของพนักงานอัยการและข้าราชการธุรการทั้งหมด แต่ การรับรู้ถึงความพร้อมด้านเครื่องมือและอุปกรณ์ และระบบสารสนเทศไม่ส่งผลต่อการใช้ระบบของพนักงานอัยการในบางส่วน ปัจจัยด้านสมรรถนะแห่งตน ได้แก่ ทักษะ ความรู้ ความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์ ความมั่นใจ เชื่อมั่นในการใช้งานในระบบ ส่งผลต่อการใช้ระบบของพนักงานอัยการและข้าราชการธุรการในบางส่วน แต่การพยายามเรียนรู้ ความพึงพอใจในเสถียรภาพของระบบใช้งานได้รวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วน ความพร้อมในด้านเครื่องมือและอุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกไม่ส่งผลต่อการใช้ระบบฯ ของพนักงานอัยการและข้าราชการธุรการ 2) ปัญหาและอุปสรรคในการนำระบบเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย ด้านบุคลากร ด้านอุปกรณ์เครื่องมือ ด้านระบบสารสนเทศ ด้านอื่น ๆ และ 3) แนวทางการปรับปรุง แก้ไข และพัฒนา ได้แก่ การพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะความรู้ ความชำนาญในการใช้งานระบบตามบทบาทหน้าที่ของตน จัดสรรเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย พัฒนาระบบสารสนเทศที่มีเสถียรภาพ และปรับปรุงกฎระเบียบการใช้งานระบบเทคโนโลยีให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ภายใต้ระบบรักษาความปลอดภัยในการเข้าถึงข้อมูลen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ณัฐธยาน์สิทธิ์วรนนท์ 641932027.pdf2.87 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.