Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79005
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา | - |
dc.contributor.author | ผ่องศรี กันทะลึก | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-11T10:23:34Z | - |
dc.date.available | 2023-10-11T10:23:34Z | - |
dc.date.issued | 2566-06-01 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79005 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research were 1) to assess the Chiang Mai Social Security Office's level of service quality standards. 2) to analyze factors influencing operators' service operations in terms of service quality standards. 3) to assess problems and difficulties with the service provided by the Chiang Mai Social Security Office in terms of personnel, equipment, the information technology system, and other components. 4) to resolve problems and difficulties caused by many circumstances. This study implemented a qualitative research methodology. A questionnaire was employed as the primary data collection technique to gather information from 88 service employees of the Social Security Office in Chiang Mai Province. The statistics used in data analysis to analyze the correlation based on Pearson's method were frequency, percentage, mean, and standard deviation. The results showed that: 1) The overall quality and service standards of the Chiang Mai Social Security Office are quite high (x= 3.07, S.D. = 0.63). 2) The location and facility factors demonstrated a significant correlation (r = 0.628). Personnel, communication channels, information systems, and processes for providing services showed a moderate correlation with the service quality standards (r = 0.425, r = 0.415, and r = 0.532, respectively). The Chiang Mai Social Security Office's service quality standards have a moderate relationship with the equipment, communication channels, information system factors, and service process (r = 0.302 and r = 0.393, respectively). 3) The most common problems and difficulties encountered by the operators from their prior experiences were insufficient manpower. 4) The recommendation for solving these problems and difficulties would be that the agency should provide manpower to be sufficient for services and facilities. Thus, it is statistically significant at.01 (R = 0.302**) and is associated with high levels of service quality standards. Keywords: service standards; quality of service; Chiang Mai Provincial Social Security Office | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | มาตรฐานคุณภาพการให้บริการของสำนักงานประกันสังคมจังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Service quality standards of Chiang Mai Provincial Social Security Office | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | สำนักงานประกันสังคมจังหวัดเชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | บริการลูกค้า -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | บริการลูกค้า -- มาตรฐาน | - |
thailis.controlvocab.thash | ประกันสังคม | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์ระดับคุณภาพมาตรฐานการให้บริการของสำนักงานประกันสังคมจังหวัดเชียงใหม่ 2) วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินการให้บริการของผู้ปฏิบัติงานตามมาตรฐานคุณภาพการบริการ 3) วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรค ด้านบุคลากร ด้านอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ ด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านอื่นๆ ในการให้บริการของสำนักงานประกันสังคมจังหวัดเชียงใหม่ 4) สำรวจหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคที่เกิดจากปัจจัยด้านต่างๆ การศึกษาใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลจากเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการของสำนักงานประกันสังคมจังหวัดเชียงใหม่ทั้งหมด 88 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ค่าร้อยละ ค่า เฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้วิธีของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับคุณภาพมาตรฐานการให้บริการของสำนักงานประกันสังคมจังหวัดเชียงใหม่ในภาพรวม มีคุณภาพมาตรฐานค่อนข้างสูง ( = 3.07, S.D. = 0.63) 2) ปัจจัยด้านสถานที่และ สิ่งอำนวยความสะดวก มีความสัมพันธ์ระดับค่อนข้างสูง ( r = 0.628) ปัจจัยด้านบุคลากร ด้านช่องทางการติดต่อสื่อสารและระบบสารสนเทศ และ ด้านกระบวนการและขั้นตอนการให้บริการ มีความสัมพันธ์กับระดับคุณภาพมาตรฐานการให้บริการในระดับปานกลาง ค่า r = 0.425, r = 0.415 และ r = 0.532 ตามลำดับ ปัจจัยด้านอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ และด้านผลผลิตและบริการ มีความสัมพันธ์กับระดับคุณภาพมาตรฐานการให้บริการของสำนักงานประกันสังคมจังหวัดเชียงใหม่ระดับค่อนข้างต่ำ ค่า r = 0.302 และ r = 0.393 ตามลำดับ 3) ปัญหาและอุปสรรคที่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานพบมากที่สุดจากประสบการณ์ในการทำงานที่ผ่านมา คือ อัตรากำลังของบุคลากรที่ไม่เพียงพอ 4) ข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาที่คาดหวังให้มีการดำเนินการมากที่สุด คือ การจัดหาอัตรากำลังเพื่อให้เพียงพอต่อการให้บริการ คำสำคัญ: มาตรฐานการให้บริการ; คุณภาพการบริการ; สำนักงานประกันสังคมจังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
641932032 นางสาวผ่องศรี กันทะลึก.pdf | 2.88 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.