Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78988
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิริรัตน์ ปานอุทัย | - |
dc.contributor.advisor | เดชา ทำดี | - |
dc.contributor.author | มนันชญา จิตตรัตน์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-09T16:30:43Z | - |
dc.date.available | 2023-10-09T16:30:43Z | - |
dc.date.issued | 2566-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78988 | - |
dc.description.abstract | Self-management is important behavior for older people with physical multimorbidity in order to control their disease. This experimental research aimed to examine the effect of PITS-based education to promote health literacy on self-management among older adults with physical multimorbidity. The sample group included older persons diagnosed with both diabetes mellitus and hypertension and attending Thungyai district health services in Nakhon Sri Thammarat province. A total of 48 subjects were randomly selected and assigned to either the experimental or control group (24 subjects each). The experimental group received PITS-based education; consisting of 4 group education sessions and 1 individual education session over three weeks, while the control group received routine care. The tools used for data collection included 1) a personal and illness data recording form, and 2) the Patient Assessment of Self-management Tasks questionnaire. Data were analyzed by descriptive statistics, independent t-test, and dependent t-test. The results revealed that the experimental group, who received PITS-based education, had a significantly higher self-management mean score than before participating in the intervention as well as a significantly higher mean score than of the control group (p < .001). Therefore, healthcare providers can apply PITS-based education as a guideline for health education in older persons with physical multimorbidity to improve self-management. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | PITS-Based education | en_US |
dc.subject | Health literacy | en_US |
dc.subject | Self-management | en_US |
dc.subject | Older adults | en_US |
dc.subject | Physical multimorbidity | en_US |
dc.subject | การให้ความรู้ตามหลักพิตส์การจัดการตนเอง | en_US |
dc.subject | ความรอบรู้ด้านสุขภาพ | en_US |
dc.subject | ผู้สูงอายุ | en_US |
dc.subject | โรคเรื้อรังทางกายร่วมหลายโรค | en_US |
dc.title | ผลของการให้ความรู้ตามหลักพิตส์เพื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อการจัดการตนเองในผู้สูงอายุที่เป็นโรคเรื้อรังทางกายร่วมหลายโรค | en_US |
dc.title.alternative | Effect of PITS-based education to enhance health literacy on self-management in older adults with physical multimorbidity | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | การจัดการตนเอง (จิตวิทยา) | - |
thailis.controlvocab.thash | ผู้สูงอายุ -- การดูแล | - |
thailis.controlvocab.thash | การส่งเสริมสุขภาพ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การจัดการตนเองเป็นพฤติกรรมสำคัญที่จะช่วยให้ผู้สูงอายุที่มีหลายโรคทางกายร่วมสามารถควบคุมการเจ็บป่วยได้ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการให้ความรู้ตามหลักพิตส์ (PITS) เพื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อการจัดการตนเองในผู้สูงอายุที่เป็นโรคเรื้อรังทางกายร่วมหลายโรค กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงร่วมกัน ที่มารับบริการในโรงพยาบาลเขตบริการอำเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช คัดเลือกโดยการสุ่มอย่างง่ายจำนวน 48 ราย สุ่มเข้ากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 24 ราย โดยกลุ่มทดลองได้รับการให้ความรู้แบบกลุ่ม 4 ครั้ง และแบบรายบุคคล 1 ครั้ง ใช้เวลาทั้งหมด 3 สัปดาห์ ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลการเจ็บป่วย และ 2) แบบสอบถามการรับรู้กิจกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา การทดสอบทีแบบอิสระ และการทดสอบทีแบบไม่เป็นอิสระ ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มทดลองที่ได้รับการให้ความรู้ตามหลักพิตส์มีคะแนนเฉลี่ยการจัดการตนเองสูงกว่าก่อนการทดลองและสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) ดังนั้นบุคลากรด้านสุขภาพสามารถนำรูปแบบการให้ความรู้ตามหลักพิตส์ไปประยุกต์ใช้การส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีโรคเรื้อรังทางกายร่วมหลายโรคมีการจัดการตนเองดีขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631231113 มนันชญา จิตตรัตน์ (File watermark).pdf | 5.43 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.