Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78984
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพจนา พิชิตปัจจา-
dc.contributor.authorอัณณ์ชญากร สุขเกษมen_US
dc.date.accessioned2023-10-09T16:14:33Z-
dc.date.available2023-10-09T16:14:33Z-
dc.date.issued2566-03-31-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78984-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to study the model of Thai Women Empowerment Funds Policy to practice in Mae Rang Sub-district, Pa Sang District, Lamphun Province of the Office of the Secretariat of the Sub-Committee on Screening and Monitoring the Operations of Thai Women Empowerment Funds, and 2) to study factors affecting the success of the implementation of Thai Women Empowerment Funds policy of the Office of the Secretariat of the Sub-Committee on Screening and Monitoring the Operations of Thai Women Empowerment Funds, to practice in Mae Rang sub-district, Pa Sang district, Lamphun province. This study is a qualitative research. Collected data by the study Documents and In-depth interview. The main informant population was divided into 3) groups: 1) Policy Level, 2) Practitioner Level, and 3) Public Level, totaling 13 people. The results of the study showed that 1) The implementation of Thai Women Empowerment Funds in Mae Rang Sub-district, Pa Sang District, Lamphun Province, in the form of sub-committees and working groups at the sub-committee, district and provincial levels. 2) The important effect that affected the success of policy implementation in the area the most was the attitude of the practitioners, and the least is the factor of the nature of the agency that implements the policy. Therefore, the suggestion from this study were 3) recommendations: 1) Local government organizations should be assigned to have roles and responsibilities in the development fund operation roles of women at sub-district level 2) Issuing announcements helping debtors who are in trouble should only issue one copy to cover and consider the actual assistance criteria. 3) Should increase the manpower of the fund staff at the district level, In order to increase the efficiency of Thai Women Empowerment Funds in the area.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีen_US
dc.titleความสำเร็จของการนำนโยบายกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีไปปฏิบัติในพื้นที่ตำบลแม่แรง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูนen_US
dc.title.alternativeThe Success of Thai Women Empowerment Funds Policy Implementation in Mae Raeng Subdistrict, Pa Sang District, Lamphun Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashสตรีกับการพัฒนาชุมชน -- ป่าซาง (ลำพูน)-
thailis.controlvocab.thashสตรีกับการพัฒนา-
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาชุมชน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษารูปแบบการนำโยบายกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีไปปฏิบัติในพื้นที่ตำบลแม่แรง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน ของสำนักงานเลขานุการคณะอนุกรรมการกลั่นกรองและติดตามการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีอำเภอป่าซาง และ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จการนำนโยบายกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีของสำนักงานเลขานุการคณะอนุกรรมการกลั่นกรองและติดตามการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีอำเภอป่าซาง ไปปฏิบัติในพื้นที่ตำบลแม่แรง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน ในการศึกษาครั้งนี้ ได้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการศึกษาด้านเอกสาร และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก กำหนดประชากรผู้ให้ข้อมูลหลัก แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) ระดับนโยบาย 2) ระดับผู้ปฏิบัติ และ 3) ระดับประชาชน รวมทั้งสิ้น 13 คน โดยผลการวิจัยพบว่า 1) การดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีไปปฏิบัติในพื้นที่ตำบลแม่แรง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน มีการทำงานในรูปแบบของคณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ในระดับตำบล อำเภอ และจังหวัด 2) ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการนำนโยบายไปปฏิบัติในพื้นที่มากที่สุด คือ ปัจจัยด้านทัศนคติของผู้ปฏิบัติ และน้อยที่สุด คือ ปัจจัยด้านลักษณะของหน่วยงานที่นำนโยบายไปปฏิบัติ ดังนั้นแล้ว ผู้ศึกษาจึงได้ให้ข้อเสนอแนะ 3 ประการ คือ 1) ควรกำหนดให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามีบทบาทและความรับผิดชอบในการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีระดับตำบล 2) การออกประกาศให้ความช่วยเหลือลูกหนี้ที่ประสบปัญหาควรออกเพียงฉบับเดียว ให้ครอบคลุมและพิจารณาหลักเกณฑ์การให้ความช่วยเหลือตามจริง 3) ควรเพิ่มอัตรากำลังของพนักงานกองทุน ในระดับอำเภอ เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีในพื้นที่en_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.