Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78981
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพจนา พิชิตปัจจา-
dc.contributor.authorนฤมล สุขเสาร์en_US
dc.date.accessioned2023-10-09T15:56:49Z-
dc.date.available2023-10-09T15:56:49Z-
dc.date.issued2566-03-31-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78981-
dc.description.abstractThis study aimed to 1) study the process of building understanding about positioning processes of Chiang Mai University to permanent university officers, lecturer classification 2) study problems and obstacles during positioning processes of Chiang Mai University 3) study guidelines for upgrades and development of positioning processes of Chiang Mai University. This study used qualitative research method with data collected from persons who are related to positioning processes of Chiang Mai University. There are 2 types of tools used; 1) in-depth interview from informants from 3 different levels, policy level, operation level, user level, 2) group interview which collected data from informants in operation level. The result was found that 1) Chiang Mai University has been building understanding in the past by hosting training or seminar projects, providing summary reports and officers who are responsible for inquiries to be prompt for questions. 2) problems and obstacles found were communication, time limitation, understanding of rules and officers’ operation 3) guideline for upgrades and development of understanding that is efficient includes communication, policies guided by administrators in university level and department level, providing knowledge, coaching system within the section, and creating network. The author suggested 2 solutions; 1) the university should focus more on the importance of communication process between officers and those who request for academic positioning, including post-assessment after building precise understanding together 2) tools that support understanding creation process should be various and easily accessed to users.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาแนวทางและยกระดับกระบวนการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeDevelopment guideline and upgrading academic positioning process of Chiang Mai Universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ -- ตำแหน่ง-
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ -- อาจารย์-
thailis.controlvocab.thashอาจารย์มหาวิทยาลัย -- การดำรงตำแหน่ง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษากระบวนการสร้างความเข้าใจในการดำเนินการตามกระบวนการเสนอขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แก่พนักงานมหาวิทยาลัยประจำสายวิชาการ ประเภทอาจารย์ อย่างถูกต้อง 2) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการเสนอขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการยกระดับและพัฒนาประสิทธิภาพในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยการศึกษานี้ได้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เกี่ยวข้องกับการเสนอขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยใช้เครื่องมือจำนวน 2 ประเภท ได้แก่ 1) การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกเก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลจำนวน 3 ระดับ ได้แก่ ระดับนโยบาย ระดับปฏิบัติการ ระดับผู้ใช้บริการ 2) การสัมภาษณ์แบบกลุ่ม เก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลระดับปฏิบัติการ ผลการศึกษาพบว่า 1) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มีกระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจที่ผ่านมาด้วยกระบวนการจัดโครงการอบรมสัมมนา การจัดทำรายละเอียดสรุปเอกสารที่เกี่ยวข้อง การตอบข้อซักถาม หรือข้อสงสัยโดยผู้ปฏิบัติงาน 2) ปัญหาและอุปสรรคที่พบได้แก่ การสื่อสาร ข้อจำกัดด้านระยะเวลา การสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อบังคับฯ และการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงาน 3) แนวทางในการพัฒนาและยกระดับกระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจให้มีประสิทธิภาพ ประกอบไปด้วย การสื่อสาร นโยบายผู้บริหารมหาวิทยาลัย นโยบายผู้บริหารส่วนงาน การผลิตคลังความรู้ ระบบพี่เลี้ยงภายในส่วนงาน และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ โดยผู้ศึกษาได้ให้ข้อเสนอแนะ 2 ประการ คือ 1) มหาวิทยาลัยควรให้ความสำคัญกับกระบวนการสื่อสารระหว่างผู้ปฏิบัติงานและผู้เสนอขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ รวมไปถึงการวัดผลย้อนหลังจากการดำเนินกระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง 2) การพัฒนาเครื่องมือเพื่อสนับสนุนกระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจควรมีความหลากหลาย และผู้ที่เข้าไปเรียนรู้สามารถเข้าถึงได้โดยง่ายen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641932030 นางสาวนฤมล สุขเสาร์.pdf2.59 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.