Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78970
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรชร มณีสงฆ์ | - |
dc.contributor.author | จิรภัทร เชาว์วิศิษฐ์เสรี | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-09T11:07:58Z | - |
dc.date.available | 2023-10-09T11:07:58Z | - |
dc.date.issued | 2023-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78970 | - |
dc.description.abstract | This independent study aimed to explore factors affecting the decision-making process of users towards services of Wellness Center, Sriphat Medical Center, Faculty of Medicine, and Chiang Mai University. Questionnaires were used to collect data from 368 customers using the services of the Wellness Center through random sampling by convenience. The characteristics of the consumer group are studied only after defining the people who use the services of the Wellness Center. The data were analyzed using descriptive and inferential statistics such as frequency, percentage, mean, standard deviation and t-test. According to the results of the study, most of the respondents were female and over 40 years old. They applied for the privilege of not having to pay for their medical expenses, worked for a state-owned enterprise, and had an average monthly income of less than 20,001 Thai Baht. The results of a study on the behaviour of service utilization behavior showed that the weight management program was used about twice a month. The top three motivations for using the service are confidence in the cure, expert doctors and innovative technology are available. The results of a study of the decision-making process of wellness centre service users are based on the concepts of Johnston, E. (2016), Kotler, P., & Keller, K. (2016: 194–202). Includes: before service use, during service use, and after service use. In the decision-making process that precedes the use of a service, a problem or need is identified, criteria are sought, and evaluated. It was found that the perception of problems or needs that service users valued most was the hospital's reputation. Compared to other hospitals, they provided this hospital with medical equipment. Before using a service based on the recommendation of family/friends/acquaintances, it is important to find out about the service user base. According to the service users, the most important evaluation criterion is the need for a doctor with experience in treating and diagnosing diseases. In the decision-making process during service utilization, the measure based on the 7P concept of service marketing mix revealed that respondents had the highest opinion on all sub-factors. In the decision-making process after using the service, use intention to use the service again and positive word of mouth from satisfied respondents. They were confident that service users would use the service again and recommend this center to others. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการตัดสินใจของผู้ใช้บริการต่อบริการของ ศูนย์เวลเนส ศูนย์ศรีพัฒน์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Factors affecting decision making process of users towards services of Wellness Center, Sriphat Medical Center, Faculty of Medicine, Chiangmai University | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะแพทยศาสตร์ | - |
thailis.controlvocab.thash | ศูนย์เวลเนส -- ความพอใจของผู้ใช้บริการ | - |
thailis.controlvocab.thash | การตัดสินใจ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการตัดสินใจของผู้ใช้บริการต่อบริการของศูนย์เวลเนส ศูนย์ศรีพัฒน์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลผู้ใช้บริการต่อบริการศูนย์เวลเนส จำนวน 368 ราย ใช้วิธีการเลือกตัวอย่างตามสะดวก (Convenience Sampling) เป็นการเลือกตัวอย่างหลังการใช้บริการศูนย์เวลเนส การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติทดสอบที (t-test) ผลการศึกษาพบว่าผู้ใช้บริการส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ช่วงอายุ มากกว่า 40 ปี อาชีพ รัฐวิสาหกิจ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ต่ำกว่า 20,001 บาท และไม่สามารถใช้สิทธิในการใช้บริการ ชำระค่ารักษาพยาบาลด้วยตนเอง ผลการศึกษาข้อมูลพฤติกรรมการเข้ามาใช้บริการส่วนใหญ่ ใช้บริการโปรแกรมการควบคุมน้ำหนัก (Weight Management) ประมาณเดือนละ 2 ครั้ง เหตุผลที่มาใช้บริการ 3 อันดับแรกได้แก่ เชื่อมั่นในการรักษา เครื่องมือทันสมัย และ แพทย์มีความเชี่ยวชาญ ผลการศึกษาระดับความคิดเห็นต่อกระบวนการตัดสินใจ ตามแนวคิดของ Johnston, E. (2016) ที่มีการประยุกต์ใช้จาก Kotler, P. & Keller, K. (2016: 194-202) การศึกษาแบ่งเป็น 3 ช่วง ได้แก่ ก่อนใช้บริการ ระหว่างใช้บริการ และหลังใช้บริการ ดังนี้ ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการตัดสินใจ ก่อนใช้บริการ ประกอบไปด้วย การรับรู้ปัญหาหรือความต้องการ การค้นคว้าหาข้อมูล และเกณฑ์การประเมิน พบว่า การรับรู้ปัญหาหรือความต้องการที่ผู้ใช้บริการให้ความสำคัญมากที่สุดคือ ทัศนคติต่อชื่อเสียงของโรงพยาบาล รองลงมาคือ ความพร้อมด้านแพทย์ เครื่องมือ เมื่อเทียบกับโรงพยาบาลอื่น การค้นคว้าหาข้อมูลให้ความสำคัญมากที่สุด กับการสอบถามข้อมูลก่อนที่จะใช้บริการผ่านการแนะนำของครอบครัว/เพื่อน/คนรู้จัก เกณฑ์การประเมินให้ความสำคัญมากที่สุดคือกับการมีแพทย์มีความเชี่ยวชาญในการตรวจรักษาและวินิจฉัยโรค ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการตัดสินใจ ระหว่างการใช้บริการหรือความพึงพอใจต่อส่วนประสมการตลาดบริการ พบว่าผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจต่อทุกปัจจัยในระดับมากที่สุด ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการตัดสินใจหลังการใช้บริการ พบว่าผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจ มั่นใจว่าจะกลับมาใช้บริการอีก และจะแนะนำศูนย์นี้ให้กับผู้อื่นในระดับมากที่สุด | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
641532018 จิรภัทร เชาว์วิศิษฐ์เสรี.pdf | 4.39 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.