Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78955
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นันทพร แสนศิริพันธ์ | - |
dc.contributor.advisor | จิราวรรณ ดีเหลือ | - |
dc.contributor.author | พัชริดา ยี่โถหุ่น | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-07T03:59:29Z | - |
dc.date.available | 2023-10-07T03:59:29Z | - |
dc.date.issued | 2023-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78955 | - |
dc.description.abstract | Maternal health literacy and health behaviors during pregnancy are very important for the health status of pregnant women and their fetus. The purpose of this descriptive correlational research was to explore the relationship between maternal health literacy and health behaviors during pregnancy of first-time pregnant women. The participants were 84 primigravida pregnant women attending antenatal care at Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital and Health Promotion Center Region 1 Chiang Mai from September 2022 to November 2022. The research instruments consisted of personal information questionnaires; the Maternal Health Literacy Scale by Guttersrud et al. (2015) and translated into Thai by Waraphok, Ratinthorn and Limruangrong (2020); and the Health Behavior of Pregnant Women Questionnaire developed by the researchers based on the World Health Organization's concept of antenatal care (2016) with a review of the literature on health behaviors during pregnancy. Data were analyzed by descriptive statistics and Spearman’s rank correlation coefficient. The research found that: 1. Most participants (63.10%) had a high level of maternal health literacy with a mean score of 64.02 (SD = 11.67). 2. Most participants (79.76%) had a high level of health behaviors during pregnancy with a mean score of 176.15 (SD = 23.77). 3. Maternal health literacy had a statistically significant positive correlation with health behaviors during pregnancy of first-time pregnant women (r = .81, p < .001). The results of this study can be used as basic information and as a guideline for healthcare personnel to improve maternal health literacy. This will improve health behaviors during pregnancy among first-time pregnant women. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ความรอบรู้ด้านสุขภาพมารดาและพฤติกรรมสุขภาพขณะตั้งครรภ์ของสตรีครรภ์แรก | en_US |
dc.title.alternative | Maternal health literacy and health behaviors during pregnancy of first-time pregnant women | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ความรอบรู้ทางสุขภาพ | - |
thailis.controlvocab.thash | การตั้งครรภ์ | - |
thailis.controlvocab.thash | มารดา | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ความรอบรู้ด้านสุขภาพมารดาและพฤติกรรมสุขภาพขณะตั้งครรภ์มีความสำคัญมากต่อ ภาวะสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ การวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพมารดาและพฤติกรรมสุขภาพขณะตั้งครรภ์ของสตรีครรภ์แรก กลุ่มตัวอย่าง คือ สตรีครรภ์แรกที่มารับบริการฝากครรภ์ที่แผนกฝากครรภ์ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 1 เชียงใหม่ ระหว่างเดือนกันยายน ถึงเดือนพฤศจิกายน 2565 จำนวน 84 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพมารดาของ กัทเทอส์รัด และคณะ (Guttersrud et al., 2015) ฉบับแปลเป็นภาษาไทยโดย สินีนาท วราโภค เอมพร รตินธร และ ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง (2563) และแบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์ ที่สร้างขึ้นโดยคณะผู้วิจัย จากแนวคิดการดูแลสตรีในขณะตั้งครรภ์ขององค์การอนามัยโลก (WHO, 2016) ร่วมกับการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพของสตรีขณะตั้งครรภ์ วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติพรรณนา และสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน (Spearman’s rank correlation coefficient) ผลการวิจัยพบว่า 1. กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 63.10 มีความรอบรู้ด้านสุขภาพมารดาอยู่ในระดับสูง โดยมีค่าเฉลี่ยคะแนน 64.02 (SD = 11.67) 2. กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 79.76 มีพฤติกรรมสุขภาพขณะตั้งครรภ์อยู่ในระดับสูง โดยมีค่าเฉลี่ยคะแนน 176.15 (SD = 23.77) 3. ความรอบรู้ด้านสุขภาพมารดามีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมสุขภาพขณะตั้งครรภ์ของสตรีครรภ์แรกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .81, p < .001) ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานและใช้เป็นแนวทางสำหรับบุคลากรสุขภาพในการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพมารดา ซึ่งจะส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพขณะตั้งครรภ์ในสตรีครรภ์แรก | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631231034-พัชริดา ยี่โถหุ่น.pdf | 3.42 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.