Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78946
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพลิน ภู่จีนาพันธุ์-
dc.contributor.authorณัฐวุฒิ พรหมเทศน์en_US
dc.date.accessioned2023-10-05T18:31:42Z-
dc.date.available2023-10-05T18:31:42Z-
dc.date.issued2564-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78946-
dc.description.abstractThe objectives of this research on "Local Leadership Roles in Management and Solve the Problem of Encroachment of Joe River of San Sai Luang Subdistrict Municipality, San Sai District, Chiang Mai Province". The objectives of this study were: 1) to study and explain the roles and processes of local leaders in managing and solving the problem of poaching Joe River 2) to analyze problems and obstacles affecting the roles of local leaders in Management and solving the problem of poaching Joe River 3) To suggest solutions and promote the role of local leaders in managing and solving the problem of poaching Joe River, using a qualitative research approach by collecting data from document and field survey visits. This research study used an observational research method by participation and non-participation in exploring the context and also uses an in-depth interview method to gather information from 5 groups of samples, totaling 32 people. All data were analyzed together with the theoretical concepts about the role of community leaders. The concept of local governance on public administration and the concept of participatory processes. From the research results, it was found that the role of local leaders is important in managing and solving resource problems in the local area, apart from being the representative of the community, and had lived in the area for a long time, having a better understanding of the area than government agencies. The local leader can also use negotiation principles better in the area. However, the official roles of local leaders are mayors, municipality council members, and village headmen, and the non-official ones are social representatives such as; elderly people, women, and housewives, who are part of the people that gives agreement and lay down the rules and regulations, including policies in managing and solving the poaching of Joe watercourse in San Sai Luang Sub-district. Moreover, the leadership roles contribute to participation in public service management and administration in solving problems of public benefit areas. From the study, it was found that problems in the past were caused by the growth of both physical and economic areas, thus causing an expansion in terms of living area. The original land area which was meant for agriculture was sold and converted into a housing estate. Some areas build their house next to Joe River, some areas create some problems that are now affecting Joe River. On the other hand, inexplicit government law and weak guidelines in the management of Joe River by government agencies, makes the people in the area poach Joe River continuously. Therefore, the conclusion of the study showed that role of local leaders is more important in controlling and surveillance of waterfront areas than the government agencies. The local leader helps the government agencies to carry out part of their job, and expenses that meet the needs of the area. Based on the result of this study, the researcher recommends the promotion of cooperation partners and integration of resource management approaches between local leaders and government agencies such as; San Sai District Office, and San Sai Land Office, especially on issues related to Joe River, that need to have a collaboration model, such as the Central Committee for joining the boundary measurement track according to the land title deed in Joe River area. If the people poach into Joe River area. Therefore, it will provide a way to claim the area back from such people instead of enforcing legal rules or powers, with regards to the policy of joint development in the local area, such as; The government does not poach the people's area, and the people do not poach the government area, allow the local leaders to be the mainstays in connecting to the people. Thus, create awareness, access to participation in the joint development of local waterways, and to create awareness of local natural resource management among people in all sectors.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleบทบาทผู้นำท้องถิ่นในการบริหารจัดการและแก้ไขปัญหาการรุกล้ำลำน้ำโจ้ของเทศบาลตำบลสันทรายหลวง อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeLocal leadership roles in management and solve the problem of encroachment of Joe River of San Sai Luang Subdistrict Municipality, San Sai District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashผู้นำชุมชน -- สันทราย (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashการปกครองท้องถิ่น -- สันทราย (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashลำน้ำโจ้-
thailis.controlvocab.thashการอนุรักษ์ลำน้ำ-
thailis.controlvocab.thashการอนุรักษ์ธรรมชาติ-
thailis.controlvocab.thashการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยเรื่อง "บทบาทผู้นำท้องถิ่นในการบริหารจัดการและแก้ไขปัญหาการรุกล้ำลำน้ำโจ้ ของเทศบาลตำบลสันทรายหลวง อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่" มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาและ อธิบายบทบาท และกระบวนการ ของผู้นำท้องถิ่นในการจัดการและแก้ไขปัญหาการรุกล้ำลำน้ำโจ้ 2) เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคที่ส่งผลต่อบทบาทผู้นำท้องถิ่นในการจัดการและแก้ไขปัญหา การรุกล้ำลำน้ำโจ้ 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาและส่งเสริมบทบาทผู้นำท้องถิ่น ในการจัดการและแก้ไขปัญหาการรุกล้ำลำน้ำโจ้ โดยใช้แนวทางการวิจัยเชิงคุณ ภาพ ด้วยการ เก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารและการลงพื้นที่ ใช้วิธีวิจัยด้วยการสังเกตอย่างมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม เพื่อศึกษาบริบทและใช้วิธีการสัมภาษณ์ เชิงลึก จากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลจำนวน 5 กลุ่ม รวมจำนวน ทั้งสิ้น 32 คน โดยข้อมูลทั้งหมดนำมาวิเคราะห์ร่วมกับแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับบทบาทของผู้นำชุมชน แนวคิดที่เกี่ยวกับรูปแบบการปกครองท้องถิ่น แนวคิดที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการที่สาธารณะ และแนวคิดที่เกี่ยวกับกระบวนการมีส่วนร่วม จากผลการศึกษาวิจัยพบว่าบทบาทผู้นำท้องถิ่นมีความสำคัญต่อการบริหารจัดการและแก้ไข ปัญหาทรัพยากรในพื้นที่ท้องถิ่น เนื่องจากเป็นตัวแทนชุมชน อาศัยอยู่ในพื้นที่มานาน มีความเข้าใจ ในพื้นที่ดีกว่าหน่วยงานภาครัฐ สามารถใช้หลักการเจรจาพูดคุยในพื้นที่ดีกว่า โดยบทบาทของผู้นำ ท้องถิ่นที่เป็นทางการ ได้แก่ นายกเทศมนตรี สมาชิกสภาเทศบาล กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน บทบาทผู้นำ ที่ไม่เป็นทางการเป็นผู้แทนทางสังคมได้แก่ ส่วนผู้สูงอายุ สตรีแม่บ้าน ที่เป็นส่วนหนึ่งในการร่วมกัน กำหนดข้อตกลงวางหลักเกณฑ์ กฎ ระเบียบ นโยบายร่วมกันในการบริหารจัดการและแก้ไขปัญหา การรุกล้ำลำน้ำโจ้ของเทศบาลตำบลสันทรายหลวง และบทบาทผู้นำก่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการ จัดการด้านบริการสาธารณะ และการบริหารงานในการแก้ไขปัญหาพื้นที่สาธารณะประโยชน์ จากการศึกษาพบว่าปัญหาในอดีตเกิดมาจากการเติบโตของพื้นที่ทั้งทางกายภาพและ ทางเศรษ ฐกิจ จึงมีการขยายพื้นที่อยู่อาศัย มีการขายพื้นที่ดั่งเดิมเป็นพื้นที่ทางการเกษตรกรรม ปรับเปลี่ยนเป็นพื้นที่ของบ้านจัดสรร บางพื้นที่หมู่บ้านจัดสรรมีเขตบริเวณติดกับลำน้ำโจ้บางพื้นที่ ได้สร้างปัญหาที่กระทบต่อลำน้ำ อีกทั้งความไม่ชัดเจนของกฎหมายและเข้มงวดของแนวทางใน การบริหารจัดการพื้นที่ลำน้ำโจ้ของหน่วยงานภาครัฐ ทำให้เกิดปัญหาประชาชนในพื้นที่ได้รุกล้ำพื้นที่ ลำน้ำโจ้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง อังนั้นบทสรุปของการศึกษาคือ บทบาทผู้นำท้องถิ่นมีความสำคัญ ในการควบคุมและเฝ้าระวังพื้นที่ริมลำน้ำได้ดีกว่าหน่วยงานภาครัฐจากส่วนกลาง ช่วยแบ่งเบาภารกิจ และค่าใช่จ่ายที่ตรงตามความต้องการของพื้นที่ ข้อเสนอแนะจากการวิจัยคือ การส่งเสริมภาคีความร่วมมือและการบูรณาการแนวทาง ในการบริหารจัดการทรัพยากรร่วมกันระหว่างผู้นำท้องถิ่นกับหน่วยงานภาครัฐ เช่น ที่ว่าการอำเภอ สันทราย สำนักงานที่ดินสันทราย โดยเฉพาะกรณีลำน้ำโจ้ที่ต้องมีรูปแบบการทำงานร่วมกัน เช่น คณะกรรมการกลางในการร่วมรังวัดสอบเขตตามโฉนคที่ดินพื้นที่ลำน้ำโจ้ หากมีประชาชนรุกล้ำ ลำน้ำโจ้เกิดขึ้น จึงจะให้วิธีการขอคืนพื้นที่จากผู้รกล้ำแทนการบังคับใช้อำนาจทางกฎหมาย โดยถึง แนวนโยบายการพัฒนาร่วมกันในท้องถิ่น คือ หลวงไม่รุกที่ราษฎร์ ราษฎร์ไม่รุกที่หลวงโดย ให้ผู้นำ ท้องถิ่นเป็นแกนนำหลักเพื่อเชื่อมโยงเข้าถึงประชาชน เพื่อสร้างการรับรู้ การเข้าถึงการส่วนร่วม ในการพัฒนาพื้นที่ลำน้ำในท้องถิ่นร่วมกัน และเพื่อสร้างความตระหนักรู้ในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นแก่ประชาชนทุกภาคส่วนร่วมกันen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621932070 ณัฐวุฒิ พรหมเทศน์.pdf4.78 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.