Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78921
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAmarin Boontun-
dc.contributor.authorSuphamat Chaichanaen_US
dc.date.accessioned2023-10-05T10:37:10Z-
dc.date.available2023-10-05T10:37:10Z-
dc.date.issued2022-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78921-
dc.description.abstractRed bed soil is declared as the waste from mining of Mae Moh mine. It will be excavated and taken to the waste dumping area outside mine pit. But in the final plan, the thick overburden red bed soil of Huai Luang formation in the last pit C of Mae Moh coal mine is prepared to be the covering materials on the coal outcrop in the final pit slope. The red bed soil is divided into 10 parts. Part 9 and Part 10 will not be mined and planned to use as covering materials in the final pit wall. The soil samples were tested for classification using unified soil classification system first. After obtaining the soil groups, the samples from each group were conducted for basic engineering properties, compactibility and strength parameters which are uniaxial tests and unconsolidated undrained triaxial tests. The results indicated that the red bed soil was classified into three group names: sandy lean clay, gravelly lean clay, and sandy fat clay. Each group of red bed soil samples were tested for basic engineering properties which are moisture content, density, specific gravity and permeability. The moisture content of sandy fat clay is the highest among the three groups while gravelly lean clay is the lowest. The range of moisture content is 9.34% - 16.67%. Sandy fat clay has the lowest density and specific gravity whereas gravelly lean clay has the highest density and specific gravity. The density values range from 2.37 t/m2 to 2.43 t/m2 and the specific gravity values range from 2.21 to 2.27. The permeability of sandy lean clay is 9.02 X10-6 cm/s, while gravelly lean clay and sandy fat clay are 9.09 X 10-6 cm/s and 8.42X 10-6 cm/s, respectively. In compaction tests, the results show the lowest optimum water content value and lowest maximum dry density value from standard proctor test is gravelly lean clay which is 14.55 % and 1751.04 kg/m3 respectively. For sandy lean clay, the optimum water content is 16.59 % and the maximum dry density is 1760.26 kg/m3. The maximum dry density of sandy fat clay is 1763.03 kg/m3 and optimum water content is 16.76 %. In modified proctor tests, the optimum water content of gravelly lean clay is 13.77 %, the maximum dry density is 1867.4 kg/m3 Sandy lean clay is 14.29% of optimum water content and 1926.22 kg/m3 of maximum dry density. The optimum water content of sandy fat clay is 14.92% and the maximum dry density is 1934.36 kg/m3 According to the unconfined compression tests, sandy fat clay is very soft, but sandy lean clay and gravelly lean clay are soft in consistency. The sandy fat clay has the lowest strength, 4.87 t/m2 with 2.43 t/m2 of cohesion. The sandy lean clay has the highest unconfined compressive strength at 6.34 t/m2 and 3.17 t/m2 in cohesion. Gravelly lean clay has 6.31 t/m2 and 3.15 t/m2 in unconfined compressive strength and cohesion respectively. For the unconsolidated - undrained triaxial compression test (UU test), the undisturbed and remolded samples are conducted. The mixed red bed soil with the ratio of 6: 3 :1 from sandy lean clay, gravelly lean clay, and sandy fat clay are also tested. The results from the tests of undisturbed samples indicate that sandy fat clay has the lowest cohesion value, 3.35 t/m3 but the gravelly lean clay has the highest value, 5.84 t/m2, and sandy lean clay has a value of 5.60 t/m2. The friction angle of red bed soil is O degrees from UU tests. From the tests of remolded samples, the gravelly lean clay has the highest cohesion value of 3.69 t/m2, the sandy lean clay has 3.60 t/m2. The sandy fat clay has the lowest cohesion value of 2.95 t/m2. The cohesion value of the mixed red bed soil is 3.30 t/m2 The overall (conceptual) design and analysis of the slope covered with mixed red bed soil data are performed. The design fixed the thickness of 3 meters of red bed soil for covering according to the recommendation in EIA mine's report. Fourteen final pit slope sections are using Morgenstern - Price method from SLIDE program. The analysis results show that the low safety factors of 1.44 occur in the EW cross - sections of N6. But the highest safety factor of 4.23 is found in section N12. However, all safety factors from the design and slope analysis are more than 1.3.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleEngineering properties of red bed soil from Mae Moh Mine for covering coal outcrop in final mine pit wallen_US
dc.title.alternativeสมบัติทางวิศวกรรมของชั้นดินแดงจากเหมืองแม่เมาะสำหรับปิดทับถ่านหินโผล่ในผนังบ่อเหมืองสุดท้ายen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshMae Moh Mine-
thailis.controlvocab.lcshCoal mines and mining -- Lampang-
thailis.controlvocab.lcshLignite mines and mining -- Lampang-
thailis.controlvocab.lcshRed soils -- Testing-
thailis.controlvocab.lcshRed soils-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractดินแดงเหมืองแม่เมาะ จังหวัดลำปาง ถูกจัดได้ว่าเป็นวัสดุที่ไม่มีประโยชน์จากการทำเหมือง โดยในระหว่างการทำเหมือง ดินแดงเหล่านี้จะถูกทำการขุดและนำไปยังพื้นที่ทิ้งดินนอกบ่อเหมือง แต่ ในแผนสุดท้ายของการทำเหมืองแห่งนี้ทางการไฟฟ้าฝ่ายผลิต (กฟผ.) มีแผนที่จะใช้ดินแดงในบริเวณ ห้วยหลวงซึ่งเป็นบริเวณสุดท้ายของเหมืองถ่านหิน เป็นวัสดุปกคลุมบนถ่านหินที่โผล่ภายหลังการทำ เหมืองในปีสุดท้าย โดยชั้นดังดินแดงกล่าวแบ่งออกเป็น 10 ส่วน และพบว่าส่วนที่ 9 และส่วนที่ 10 จะ ไม่ถูกขุดและได้มีการวางแผนไว้ในการใช้ดินแดงส่วนนี้เป็นวัสดุปิดทับถ่านหินที่โผล่ในผนังบ่อ เหมืองสุดท้ายดังกล่าว ในงานวิจัยนี้ทำการศึกษาตัวอย่างดินแดงทั้ง 2 ส่วน ในขั้นตอนแรกตัวอย่างดิน แดงจะถูกนำไปจำแนกประเภทของดินโดยใช้วิธี Unified Soil Classification System และหลังจาก ทราบว่าดินแดงเป็นดินประเภทใดจึงนำดินแดงแต่ละประเภทไปทดสอบคุณสมบัติทางวิศวกรรม พื้นฐาน การบดอัดแน่นของดิน (Compaction Test) และความแข็งแรงของดินทั้งการทดสอบแบบให้ แรงอัดแกนเดียว (Unconfined Compression Test) และการทคสอบแบบให้แรงอัด 3 แกน ในสภาพไม่ อิ่มตัวด้วยน้ำ (Unconsolidated - Undrained Triaxial Compression Test) ซึ่งผลการจำแนกประเภท ของดินแดงนั้น พบว่าสามารถแบ่งกลุ่มดินแดงตามชื่อกลุ่มดินได้ 3 กลุ่ม คือ Sandy Lean Clay Gravelly Lean Clay และ Sandy Fat Clay จากนั้นตัวอย่างดินแดงที่ถูกจำแนกประเภทแล้วได้รับการทคสอบคุณสมบัติทางวิศวกรรม พื้นฐาน ได้แก่ ความชื้น (Moisture Content) ความหนาแน่น (Density) ความถ่วงจำเพาะ (Specific Gravity) และความซึมได้ของน้ำ (Permeability) ซึ่งปริมาณความชื้นของ Sandy Fat Clay มีค่าที่สูง ที่สุดในดินทั้ง 3 กลุ่ม ส่วน Gravelly Lean Clay มีปริมาณความชื้นที่ต่ำที่สุด โดยความชื้นอยู่ในช่วง 9.34% - 16.67% และพบว่า Sandy Fat Clay มีค่าความหนาแน่นและความถ่วงจำเพาะต่ำสุด ในขณะที่ Gravelly Lean Clay มีค่าความหนาแน่นและความถ่วงจำเพาะสูงสุด ซึ่งค่าค่าความหนาแน่นอยู่ในช่วง 2.37 ตันต่อตารางเมตรถึง 2.43 ตันต่อตารางเมตรและความถ่วงจำเพาะอยู่ในช่วง 2.21 ถึง 2.27 นอกจากนั้นยังพบว่าความซึมได้ของน้ำใน Sandy Fat Clay มีค่า 9.02X 10-6 เซนติเมตรต่อวินาที ส่วน Gravelly Lean Clay และ Sandy Fat Clay มีค่าเท่ากับ 9.09X10-6 เซนติเมตรต่อวินาที และ 8.42 x10-6 เซนติเมตรต่อวินาที ตามลำดับ จากผลการทดสอบการบดอัดแน่นของดินแดง พบว่าปริมาณความชื้นที่เหมาะสม (Optimum Water Content) และค่าความหนาแน่นของดิน (Maximum Dry Density) ที่มีค่าต่ำสุดจากการทดสอบ มาตรฐานของ Standard Proctor ของดินทั้ง 3 กลุ่ม คือ Gravelly Lean Clay ที่มีค่าความหนาแน่นของ ดินสูงสุดคือ 1,751.04 กิโลกรัมต่อลูกบากศ์เมตร ที่ปริมาณความชื้นที่เหมาะสม 14.55% ส่วน Sandy Lean Clay มีค่าความหนาแน่นของดินสูงสุดคือ 1,760.26 กิโลกรัมต่อลูกบากศ์เมตร ที่ปริมาณความชื้น ที่เหมาะสม 16.59% และสุดท้าย Sandy Fat Clay ที่มีค่าความหนาแน่นของดินสูงสุดคือ 1,763.03 กิโลกรัมต่อลูกบากศ์เมตร ที่ปริมาณความชื้นที่เหมาะสม 16.76% ส่วนการทคสอบการบดอัดแน่นของ ดินแดงมาตรฐานของ Modified Proctor พบว่า Gravelly Lean Clay มีค่าความหนาแน่นของดินสูงสุด คือ 1,867.4 กิโลกรัมต่อลูกบากศ์เมตร ที่ปริมาณความชื้นที่เหมาะสม 13.77% และ Sandy Lean Clay มี ค่าความหนาแน่นของดินสูงสุดคือ 1,926.22 กิโลกรัมต่อลูกบากศ์เมตร ที่ปริมาณความชื้นที่เหมาะสม 14.29% และสุดท้าย Sandy Fat Clay ค่าความหนาแน่นของดินสูงสุดคือ 1,934.36 กิโลกรัมต่อลูก บากศ์เมตร ที่ปริมาณความชื้นที่หมาะสม 14.92% จากการทดสอบการให้แรงอัดแกนเดียว พบว่า Sandy Fat Clay มีความอ่อนมาก แต่ Sandy Lean Clay และ Gravelly Lean Clay มีความอ่อนน้อยกว่า นอกจากนั้นยังพบว่า Sandy Fat Clay มีค่าความ แข็งแรง (Unconfined Compressive Strength) ต่ำสุด คือ 4.87 ตันต่อตารางเมตร โดยมีค่าความเชื่อม แน่น (Cohesion) 2.43 ตันต่อตารางเมตร ส่วน Gravelly Lean Clay มีค่าความแข็งแรงของดินสูงสุด คือ 6.34 ตันต่อตารางเมตร โดยมีค่าความเชื่อมแน่น 3.17 ตันต่อตารางเมตร และตามด้วย Sandy Lean Clay มีค่าความแข็งแรงของดินคือ 6.31 ตันต่อตารางเมตร โดยมีค่าความเชื่อมแน่น 3.15 ต้นต่อตาราง เมตร สำหรับการทดสอบให้แรงอัด 3 แกน กรณีของดินในสภาพไม่อิ่มตัวด้วยน้ำ มีการใช้ตัวอย่าง แบบตัวอย่างดินคงสภาพ (Undisturbed Sample) และ ตัวอย่างที่ทำขึ้นใหม่ (Remolded Sample) โดย ตัวอย่างที่ทำขึ้นใหม่ (Mixed Red Bed Soil) จะถูกผสมเป็นสัดส่วน 6:3:1 (Sandy Lean Clay: Gravelly Lean Clay: Sandy Fat Clay) จากการทดสอบพบว่าในตัวอย่างดินคงสภาพ Sandy Fat Clay มีความ เชื่อมแน่นน้อยที่สุด คือ 3.35 ตันต่อตารางเมตร แต่ Gravelly Lean Clay มีความเชื่อมแน่นมากที่สุดคือ 5.84 ตันต่อตารางเมตร และ Sandy Lean Clay มีความเชื่อมแน่นเท่ากับ 5.6 ตันต่อตารางเมตร และใน ดินทั้ง 3 ประเภทนี้ มีมุมยึดเกาะ (Fiction Angle) เท่ากันคือ 0 องศา ในส่วนของการทคสอบโดยใช้ ตัวอย่างที่ทำขึ้นใหม่ พบว่า Gravelly Lean Clay มีความเชื่อมแน่นมากที่สุด คือ 3.69 ตันต่อตารางเมตร และ Sandy Lean Clay มีความเชื่อมแน่นคือ 3.6 ตันต่อตารางเมตร แต่ Sandy Fat Clay มีความเชื่อม แน่นน้อยที่สุดคือ 2.95 ตันต่อตารางเมตร และในส่วนของดินแดงที่ผสมขึ้นใหม่ตามสัดส่วนที่พบ พบว่ามีความเชื่อมแน่นคือ 3.3 ตันต่อตารางเมตร การออกแบบหน้างานและการวิเคราะห์ความลาดชั้นหน้างานที่นำดินแดงไปปกคลุมใช้ข้อมูล ของดินแดงที่ผสมขึ้นมาใหม่ (Mixed Red Bed Soil) ในการออกแบบ และการออกแบบนี้อ้างอิงตาม รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมหรือ Environmental Impact Assessment (EIA) ซึ่งพบว่า บริเวณที่พบว่าถ่านโผล่ในปีสุดท้ายของการทำเหมืองนี้มีจำนวน 14 ตำแหน่ง และจากการออกแบบ และวิเคราะห์โดยใช้วิธี Morgenstern - Price จากโปรแกรม SLIDE นั้น พบว่า ค่าความปลอดภัย (Safety Factor) ที่ต่ำคือ 1.44 โดยพบที่บริเวณหน้าตัดขวาง EW ของ N6 แต่บริเวณที่ความปลอดภัย (safety Factor) สูงสุดที่พบคือ บริเวณหน้าตัดขวาง EW ของ N12 มีค่าความปลอดภัย คือ 4.23 แต่ อย่างไรก็ตามค่าความปลอดภัยทั้งหมดจากการออกแบบและวิเคราะห์ความชันของดินแดงที่นำไปปก คลุมมีค่ามากกว่า 1.3 ในทุกบริเวณที่พบถ่านโผล่ในปีสุดท้ายของการทำเหมืองen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620635902 ศุภมาศ ชัยชนะ.pdf13.42 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.