Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78919
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนริศรา เอี่ยมคณิตชาติ-
dc.contributor.authorอิศราวดี เหมะen_US
dc.date.accessioned2023-10-05T10:34:19Z-
dc.date.available2023-10-05T10:34:19Z-
dc.date.issued2565-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78919-
dc.description.abstractThe objectives of this independent study consisted of two areas. Firstly, to select appropriate variables of the knowledge-based economy indicators as alternative indicators for predicting Gross Domestic Product (GDP) growth. Secondly, to develop models for forecasting the GDP growth rate using neuro-fuzzy technique and compare the model performance. The data used in this work were collected from the World Bank through an Application Programming Interface, consisting of 5 regions: East Asia & Pacific, Europe & Central Asia, Latin America & Caribbean, Middle East & North Africa, and South Asia. The study investigated and identified the independent variables of the knowledge-based economy that could be used in the GDP growth rate prediction model along with the development of the Adaptive Neuro-fuzzy Inference System (ANFIS) to predict the GDP growth rate. The performance assessment used the prediction results to compare with the Linear Regression (LR) and Artificial Neural Network (ANN) models for accuracy, using the Mean Absolute Error (MAE) and Root Mean Square Error (RMSE). The result showed that the knowledge-based economy variables in this study have differing correlation significancy with the GDP growth. Particularly, the knowledge-based economy variables demonstrated the most significant relationship in the East Asia & Pacific and Latin America & Caribbean regions, respectively, while the variables showed weak relationship with the GDP growth in the Middle East & North Africa region. In the case of the development of ANFIS from the selected variables, the ANFIS provided the highest accuracy in predicting GDP growth in 14 of 15 experiments from three types of datasets: training dataset, testing dataset, and unseen dataset, while the ANN and LR models are less accurate, respectively. Also, the East Asia & Pacific region has the lowest error of all regions; with the average MAE and RMSE of the testing and unseen datasets at 0.265% and 0.345%, respectively. In addition, the developed ANFIS model can be good predictors in some regions, especially in the East Asia & Pacific, South Asia and Europe & Central Asia regions, while in the Middle East & North Africa, the error from the developed model is the highest one since the relationship between the selected input variables and output variable are very low.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพยากรณ์และการวิเคราะห์ตัวแปรทางด้านเศรษฐกิจ ฐานความรู้ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมประเทศโดยใช้เทคนิคด้านนิวโรฟัซซีen_US
dc.title.alternativePrediction and analysis of knowledge-based economy indicators on GDP growth using Neuro-Fuzzy Techniqueen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ-
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาเศรษฐกิจ-
thailis.controlvocab.thashฟัสซีลอจิก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ ฐานความรู้ และอัตราการเจริญเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมประเทศ รวมถึงสามารถคัดเลือก คุณลักษณะของตัวแปรมาพัฒนาเป็นตัวแบบจำลองในการพยากรณ์อัตราการเจริญเติบโตของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมประเทศด้วยเทคนิคด้านนิวโรฟัซซี (Neuro-Fuzzy Technique) ได้โดยใช้การเก็บ รวบรวมข้อมูลในการศึกษาจาก WBGAPI ของ World Bank จำนวน 5 ภูมิภาค ได้แก่ ภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกและคาบมหาสมุทรแปซิฟิก ภูมิภาคยุโรปและเอเชียกลาง ภูมิภาคละตินอเมริกาและทะเล แคริบเบียน ภูมิภาคตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ และภูมิภาคเอเชียใด้ จากนั้นนำมาพัฒนาเป็น ตัวแบบจำลองโครงข่ายนิวโรฟัซซีแบบปรับตัวได้ (Adaptive Neuro-fuzzy Inference System: ANFIS) และเปรียบเทียบประสิทธิภาพความแม่นยำกับ 2 ตัวแบบ ได้แก่ แบบจำลองการวิเคราะห์การถดถอย เชิงเส้น (Linear Regression: LR) และแบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียม (Artificial Neural Network: ANN) โดยเปรียบเทียบความแม่นยำจากค่าเฉลี่ยความผิดพลาดสัมบูรณ์ (Mean Absolute Error: MAE) และรากที่สองของค่าเฉลี่ยกำลังสองของความผิดพลาด (Root Mean Square Error: RMSE) ผลการศึกษาพบว่าตัวแปรทางด้านเศรษฐกิจฐานความรู้ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้มี ความสัมพันธ์กับอัตราการเจริญเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมประเทศได้ในระดับที่แตกต่างกัน ในแต่ ละภูมิภาค โดยจากการทดลองพบว่าตัวแปรทางด้านเศรษฐกิจฐานความรู้สามารถใช้อธิบายอัตราการ เจริญเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมประเทศได้ดีที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกและคาบมหาสมุทร แปซิฟิก และภูมิภาคละตินอเมริกาและ ทะเลแคริบเบียน ตามลำดับ ขณะที่ในภูมิภาคตะวันออกกลาง และแอฟริกาเหนือพบว่าตัวแปรที่เลือกมาศึกษานั้นสามารถใช้อธิบายอัตราการเจริญเติบโตของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมประเทศได้ค่อนข้างน้อย ในส่วนของการพัฒนาตัวแบบจำลองโดยใช้เทคนิค ทางด้านนิวโรฟัซซีจากตัวแปรต้นที่เลือกมานั้น พบว่าตัวแบบจำลองโครงข่ายนิวโรฟัชซีแบบปรับตัว ได้มีประสิทธิภาพและความแม่นยำสูงที่สุดใน 14 การทดลองจากทั้งหมด 15 การทดลอง จากข้อมูล ทั้ง 3 ชุด (ชุดฝึกสอน ชุดทดสอบ และชุดที่เข้ามาใหม่ ใน 5 ภูมิภาคที่ทำการศึกษา ขณะที่แบบจำลอง โครงข่ายประสาทเทียม และแบบจำลองการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นให้ประสิทธิภาพในการ พยากรณ์รองลงมาตามลำดับ โดยภูมิภาคเอเชียตะวันออกและคาบมหาสมุทรแปซิฟิก ให้ค่าเฉลี่ยความ ผิดพลาดสัมบูรณ์และรากที่สองของค่าเฉลี่ยกำลังสองของความผิดพลาด โดยเฉลี่ยจากข้อมูลชุด ทดสอบและชุดที่เข้ามาใหม่ต่ำที่สุดที่ 0.265% และ 0.345% ตามลำดับ ทั้งนี้ ตัวแบบจำลองโครงข่าย นิวโรฟัชซีแบบปรับตัวได้ที่พัฒนาขึ้นนั้นพบว่าสามารถใช้พยากรณ์อัตราการเจริญเติบโตของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมประเทศได้แม่นยำในภูมิภาคเอเชียตะวันออกและคาบมหาสมุทรแปซิฟิก ภูมิภาค เอเชียใต้ และภูมิภาคยุโรปและเอเชียกลาง ขณะที่ในภูมิภาคตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ พบว่า มีค่าความผิดพลาดจากการใช้ตัวแบบจำลองพยากรณ์สูงที่สุด ซึ่งเป็นผลจากตัวแเปรต้นที่เลือกมานั้นมี ความสัมพันธ์กับอัตราการเจริญเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมประเทศค่อนข้างน้อยen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620632083 อิศราวดี เหมะ.pdf2.69 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.