Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78916
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภาพร ชินชัย-
dc.contributor.authorลักษิกา ลัทธ์พิทยาen_US
dc.date.accessioned2023-10-04T09:04:24Z-
dc.date.available2023-10-04T09:04:24Z-
dc.date.issued2022-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78916-
dc.description.abstractThe purposes of the present study were to translate The Vocal Fatigue Index from English into Thai language using Beaton and Guillemin's back-translation process and to investigate the psychometric property of The Vocal Fatigue Index - Thai version (VFI-TH) in areas of content validity, sensitivity, specificity, and internal consistency reliability. Participants 18 years of age and above were recruited, comprising 22 adults who had voice disorders from the benign lesions and 60 people with normal voices. Content validity was obtained from the agreement judgment of 3 experts. Internal consistency reliability was calculated by using Cronbach's alpha coefficient. Results demonstrated that the sensitivity of the VFI-TH was 22.7%, and the specificity was 100%. The internal consistency in part 2 (α = .87), part 1 (α = .93), and part 3 (α = .94) of the instrument was ranked in very good to excellent levels (α = .87-.94) and classified as an excellent instrument for the full version (α = .94). These results indicated that the VFI-TH had acceptable validity and reliability, which can be used as an additional assessment for voice disorders.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความตรงและความเที่ยงของแบบประเมินดัชนีวัดการล้าของเสียง ฉบับภาษาไทยen_US
dc.title.alternativeValidity and reliability of the vocal fatigue index – Thai versionen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเสียงพูด-
thailis.controlvocab.thashเสียงของมนุษย์-
thailis.controlvocab.thashเสียง-
thailis.controlvocab.thashการพูด-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแปลแบบประเมินดัชนีวัดการล้าของเสียง (Vocal Fatigue Index) จากต้นฉบับภาษาอังกฤษให้เป็นฉบับภาษาไทย ด้วยกระบวนการแปลกลับตามกระบวนการของ Beaton และ Guillemin และตรวจสอบคุณสมบัติการวัดทางจิตวิทยาของแบบประเมินด้านความตรงเชิงเนื้อหาด้วยวิธีการประชุมคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญและหาความไวและความจำเพาะ ตรวจสอบความเที่ยงด้วยการหาค่าความสอดคล้องภายใน โดยการหาสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค กลุ่มตัวอย่างมีอายุ 18 ปีขึ้นไป ประกอบด้วย ผู้ป่วยกลุ่มเสียงผิดปกติที่มีพยาธิสภาพแบบไม่ร้ายแรง จำนวน 22 คน และ กลุ่มคนทั่วไปที่เสียงปกติ จำนวน 60 คน ผลการศึกษาพบว่าแบบประเมินดัชนีวัดการล้าของเสียงฉบับภาษาไทย มีความตรงเชิงเนื้อหา มีความไวร้อยละ 22.7 ความจำเพาะ ร้อยละ 100 ค่าความสอดคล้องภายในของแบบประเมินมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (α -Coefficient) ตอนที่ 2 (α = .87) ตอนที่ 1 (α = .93) และตอนที่ 3 (α = .94) ซึ่งอยู่ในระดับดีมากถึงดีเยี่ยม และคำความสอดคล้องภายในของแบบประเมินทั้งฉบับอยู่ในระดับดีเยี่ยม (α = .94) แสดงว่าแบบประเมินดัชนีวัดการล้าของเสียงฉบับภาษาไทยมีความตรงและความเที่ยงอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ และสามารถนำไปใช้เพื่อเป็นแนวทางในการประเมินปัญหาการล้าของเสียงร่วมกับการใช้การประเมินอื่น ๆ ต่อไปen_US
Appears in Collections:AMS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601131013 ลักษิกา ลัทธ์พิทยา.pdf3.9 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.