Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78907
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิมพ์ชนก เครือสุคนธ์-
dc.contributor.authorชนนิกานต์ กาญจนพันธุ์en_US
dc.date.accessioned2023-10-02T10:26:14Z-
dc.date.available2023-10-02T10:26:14Z-
dc.date.issued2023-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78907-
dc.description.abstractThis independent study investigated the mediating role of job stress in the relationship between surface acting and turnover intention and the moderating role of perceived co-worker support in those relationships. Data were collected from 212 ground staffs in Thailand. The research instruments were Turnover Intention Questionnaire, Surface Acting Questionnaire, Job Stress Questionnaire, Co-worker Support Questionnaire, and Demographic Data Questionnaire. The statistical of moderated mediation effects were tested with PROCESS Macro. The result demonstrated that surface acting had positive significant relationship with turnover intention at the 0.1 level (r = .201). Surface acting had positive significant relationship with job stress at the level 0.1 (r = .550). However, the result revealed that job stress was not a mediator of the relation between surface acting and turnover intention. Also, co-worker support was not a moderator of the relation between surface acting and turnover intention with mediation of job stress.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleอิทธิพลของการแสร้งแสดงความรู้สึกขณะปฏิบัติงานที่มีต่อความตั้งใจลาออกของพนักงานบริการผู้โดยสารภาคพื้นดิน: บทบาทการเป็นตัวแปรสื่อของความเครียดในงานและบทบาทการเป็นตัวแปรปรับของการได้รับการสนับสนุนจากเพื่อนร่วมงานen_US
dc.title.alternativeInfluence of surface acting on turnover intention of ground staff: the mediating role of job stress and the moderating role of co-worker supporten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashความเครียดในการทำงาน-
thailis.controlvocab.thashการทำงาน -- แง่จิตวิทยา-
thailis.controlvocab.thashจิตวิทยาอุตสาหกรรม-
thailis.controlvocab.thashพนักงานสายการบิน -- การลาออก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของความเครียดในงานในฐานะตัวแปรสื่อระหว่างความสัมพันธ์ของการแสร้งแสดงความรู้สึกขณะปฏิบัติงานกับความตั้งใจลาออกจากงาน และศึกษาอิทธิพลปรับของการได้รับการสนับสนุนจากเพื่อนร่วมงานที่มีต่อความสัมพันธ์ดังกล่าว กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นพนักงานบริการผู้โดยสารภาคพื้นดินจากสายการบินในประเทศ จำนวน 212 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบวัดความตั้งใจลาออกจากงาน แบบวัดการแสร้งแสดงความรู้สึก แบบวัดความเครียดในงาน แบบวัดการได้รับการสนับสนุนจากเพื่อนร่วมงาน และแบบสอบถามลักษณะส่วนบุคคล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์อิทธิพลสื่อที่มีตัวแปรปรับ ด้วยโปรแกรม PROCESS Macro ผลการวิจัยพบว่า การแสร้งแสดงความรู้สึกขณะปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความตั้งใจลาออกจากงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .201 และการแสร้งแสดงความรู้สึกขณะปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความเครียดในงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .550 อย่างไรก็ตาม ไม่พบว่าความเครียดในงานมีอิทธิพลสื่อระหว่างความสัมพันธ์ของการแสร้งแสดงความรู้สึกขณะปฏิบัติงานกับความตั้งใจลาออกจากงาน และไม่พบว่าการได้รับการสนับสนุนจากเพื่อนร่วมงานมีอิทธิพลปรับในความสัมพันธ์ของการแสร้งแสดงความรู้สึกขณะปฏิบัติงานกับความตั้งใจลาออกจากงาน โดยมีความเครียดในงานเป็นตัวแปรสื่อen_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.